Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
Historical antecedents ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
บทที่ 9: ผลของการขยายตัวทางเศรษฐกิจต่อการค้าระหว่างประเทศ
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
EC451 International Trade Theory and Policy
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin (2) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Heckscher-Ohlin Theory(1) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
Lecture 8.
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : ก้าวใหม่ที่ท้าทาย หรือ ความฝันที่ไกลเกินจริง
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
นายบัณฑิตย์ ศรีพุทธางกูร สำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
วิกฤต-โอกาส กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
ตัวอย่าง: ตลาดปัจจัยการผลิตที่มีผู้ซื้อรายเดียว
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Free Trade Area Bilateral Agreement
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 บัญชีรายได้ประชาชาติ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
 *connectedthinking กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ 21 กันยายน 2547 การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ.
3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ทฤษฎีการผลิต.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
The Theory of Comparative Advantage: Overview
The Theory of Comparative Advantage: Overview
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ EC451 Lecture 9 Heckscher-Ohlin (3) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ

ประเทศ 1 เป็น labour abundant ประเทศ 2 เป็น capital abundant. ความเดิมตอนที่แล้ว ประเทศ 1 เป็น labour abundant ประเทศ 2 เป็น capital abundant. Good X เป็น labour intensive Good Y เป็น Capital intensive.

Trade กับ Distribution of Income เรารู้ว่า Trade ทำให้ factor prices เท่ากันในสองประเทศ Trade ทำให้ output prices เท่ากันในสองประเทศ คำถามต่อไปคือ Trade ส่งผลต่อ Real wages (w/p) ในสองประเทศอย่างไร Trade ส่งผลต่อ Real interest rates (r/p)ในสองประเทศอย่างไร

Trade ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในราคาปัจจัยการผลิตในสองประเทศ

Labor-abundant Country PX  increased PY  decreased w  increased r  decreased PX = w + r PY = w + r (+) (+) > (-) (-) (+) < (-) Magnification effect : %Dw > %DPX > %DPY > %Dr real income of abundant factor increased: |%Dw | > | %DP | real income of scarce factor decreased : |%Dr | > | %DP |

Capital-abundant Country PY  increased PX  decreased r  increased w  decreased PY = w + r PX = w + r (+) (-) < (+) (-) (-) < (+) Magnification effect : %Dr > %DPY > %DPX > %Dw real income of abundant factor increased: |%Dr | > | %DP | real income of scarce factor decreased : |%Dw | > | %DP |

Stolper-Samuelson Theorem “การค้าระหว่างประเทศโดยเสรีทำให้รายได้แท้จริงของปัจจัยที่มีมากสูงขึ้น แต่รายได้แท้จริงของปัจจัยขาดแคลนกลับลดลง” “การค้าระหว่างประเทศโดยเสรีทำให้สินค้าที่ส่งออกได้มีราคาสูงขึ้นแต่ทำให้สินค้าที่ต้องแข่งขันกับสินค้านำเข้ามีราคาลดลง ดังนั้นปัจจัยการผลิตที่ใช้มากในการผลิตสินค้าที่ส่งออกได้จะมีรายได้แท้จริงสูงขึ้นแต่ปัจจัยการผลิตที่ใช้มากในการผลิตสินค้าที่ต้องแข่งขั้นกับสินค้านำเข้ามีรายได้แท้จริงลดลง” Who benefits from trade liberalisation?

Economic welfare Aggregate welfare ของทั้งสองประเทศสูงขึ้นจากการค้าระหว่างประเทศโดยเสรี แต่ผลประโยชน์ของบางกลุ่มบุคคลอาจลดลต่ำลง การค้าระหว่างญี่ปุ่นกับจีน ส่งผลต่อ Welfare ของกลุ่มบุคคลอย่างไร Japan China Capitalists + - Workers - + Total + + เจ้าของปัจจัยการผลิตที่มีอยู่มากมีสวัสดิการสูงขึ้นจากการค้า (gain from trade) เจ้าของปัจจัยการผลิตที่ขาดแคลนมีสวัสดิการลดลงจากการค้า (lose from trade)

Summary of Heckscher-Ohlin model results ความแตกต่างระหว่างประเทศในแง่ของสัดส่วนทรัพยากรทำให้เกิดโอกาสและประโยชน์จาก การค้าระหว่างกัน Comparative advantage (และ the pattern of trade) เกิดขึ้นมาจากความ แตกต่างในสัดส่วนทรัพยากร ไม่ใช่ความแตกต่างในจำนวนทรัพยากร. การค้าในสินค้าส่งผลเหมือนการค้าในปัจจัยการผลิต แต่ละประเทศมี gain from trade เพราะ trade ทำให้เกิด to the expansion of a nation's consumption possibilities frontier ซึ่งย่อมทำให้มี improvement in aggregate welfare. เจ้าของ “abundant” factors ได้ประโยชน์จาก trade ในขณะที่เจ้าของ “scarce” factors เสียประโยชน์ (in the 2x2x2 version of the model and frictionless world) การเปิด ประเทศทำการค้าทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในค่าตอบแทนปัจจัยการผลิต

ข้อยกเว้นในทฤษฎี

Factor-Intensity Reversal. kx ky ky kx Factor-Intensity Reversal.

Factor intensity Reversal หากมีการผกผันในความเข้มข้นของการใช้ปัจจัย H-O theorem อาจใช้ไม่ได้

Empirical work: Leontief Paradox วิเคราะห์ U.S. input-output table ในปี 1947 เพื่อดูสัดส่วนทุนต่อแรงงานในสินค้าส่งออกและนำเข้าของ U.S. ถ้าเป็นไปตามคำทำนายของ H-O theorem ควรจะพบว่า capital abundant U.S. should be a net exporter of capital services สินค้านำเข้าของ U.S. จะมี K/L ต่ำ ขณะที่สินค้าส่งออกมี K/L สูง

Leontief’s Test Table 4.1 Leontief’s Test Leontief used the numbers in this table to test the Heckscher-Ohlin theorem. Each column shows the amount of capital or labor needed to produce $1 million worth of exports from, or imports into, the United States in 1947. As shown in the last row, the capital-labor ratio for exports was less than the capital labor ratio for imports, which is a paradoxical finding. Source: Wassily Leontief, 1953, “Domestic Production and Foreign Trade: The American Capital Position Re-examined,” Proceedings of the American Philosophical Society, 97, September, 332–349. Reprinted in Richard Caves and Harry G. Johnson, eds., 1968, Readings in International Economics, Homewood, IL: Irwin.

Empirical work: Leontief Paradox ในความเป็นจริงพบว่า สินค้านำเข้าของ U.S. จะมี K/L เฉลี่ยสูงกว่าสินค้าส่งออก Possible explanations Multiple factor world: U.S. เป็นประเทศที่เป็น skilled labour abundant, natural resource abundant ด้วย ใช้ U.S. I-O table เท่ากับ assume ว่าทุกประเทศใช้เทคโนโลยีเดียวกับใน U.S. จริงๆแล้วสินค้านำเข้าที่ผลิตใน US ใช้ technology ที่เป็น capital intensive ในประเทศอื่นอาจในเทคฯที่เป็น labour intensive