Comparative advantage and the gains from trade (cont.) EC 451 Lecture 4 Comparative advantage and the gains from trade (cont.) ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
ความแตกต่าง Comparative advantage ความสามารถของประเทศในการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งด้วยต้นทุนค่าเสียโอกาสที่ต่ำกว่าประเทศอื่น Absolute advantage ความสามารถของประเทศในการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งด้วยจำนวนปัจจัยการผลิตต่อหน่วยที่ต่ำกว่าประเทศอื่น
Comparative Advantage Theory หากแต่ละประเทศมีค่าเสียโอกาสในการผลิตสินค้าต่างกัน ประเทศเหล่านั้นมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในสินค้าที่ตนมีค่าเสียโอกาสต่ำกว่าประเทศอื่น หากแต่ละประเทศผลิตเฉพาะสินค้าที่ตนมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ แล้วเอาไปแลกกับสินค้าที่ตนไม่มีความได้เปรียบฯ จะเกิดประโยชน์จากการค้า (มีสินค้าออกมาให้บริโภคมากกว่ากรณีผลิตเองใช้เองภายในประเทศ) แม้ประเทศที่ต้นทุนสูงกว่าประเทศอื่นในทุกสินค้าก็ยังสามารถทำการส่งออกสินค้าอย่างใดอย่างหนึ่งได้
The ideas of comparative advantage in a one-factor model. “Ricardian Model”
Assumptions One factor: “labour” Full employment Two goods Two countries Technology differences แต่ละประเทศใช้จำนวนแรงงานไม่เท่ากันในการผลิตสินค้าแต่ละชนิดไม่เท่ากัน Perfect competition (P = MC)
Labor productivity ของสองประเทศแตกต่างกัน (เทคโนโลยีต่างกัน) example 2 countries: US and UK 2 สินค้า : wheat กับ Cloth ผลิตโดยใช้แรงงานเป็นปัจจัยการผลิตเพียงอย่างเดียว Labor productivity ของสองประเทศแตกต่างกัน (เทคโนโลยีต่างกัน) ผลผลิตต่อหน่วยแรงงาน (output per unit of labor) ของ 2 ประเทศไม่เท่ากัน 2 ประเทศต้องการแรงงานต่อหน่วยผลผลิต (unit labor requirement) ไม่เท่ากัน
Output per unit of Labor (labor productivity) Unit Labor Requirement Wheat (man-hr/bushels) aLW = 1/6 1 Cloth (man-hr/yards) aLC = 1/4 1/2 Opportunity Costs Wheat (yards/bushels) 4/6 2/1 Cloth (bushels/yards) 6/4 1/2
OC of wheat in US = 2/3 yards of cloth OC of wheat in UK = 2 yards of cloth ถ้า world price of wheat อยู่ระหว่าง: 2/3 <p< 2 เกิด Trade ระหว่าง US และ UK
(aLW/aLC)UK (aLC/aLW)UK (aLW/aLC)US (aLC/aLW)US 30x6 180+(60)1 60x2 120+(30)4 FIGURE 2-3 Equilibrium-Relative Commodity Prices with Demand and Supply.
Gains from Trade เกิดขึ้นเมือ trade ทำให้สามารถ ใช้ทรัพยากรเท่าเดิม แต่บริโภคได้มากขึ้น (ความพอใจสูงขึ้น) กว่าเมื่อไม่ทำการค้า
สมมติ จำนวนแรงงานที่มีใน US = 30 man-hour 2 countries: US and UK เทคโนโลยีในสองประเทศต่างกัน ดังแสดงในตัวอย่างข้างต้น สมมติ จำนวนแรงงานที่มีใน US = 30 man-hour จำนวนแรงงานที่มีใน UK = 60 man-hour
Closed Economy PPF L/aLC Slope = 2/3= aLW / aLC Slope = 2 L/aLW
Allowing trade Slope = 2/3 Slope = 1 Slope = 1 Slope = 2
the countries are “better off”. UK PPF & CPF US PPF & CPF QUSC QUKC 120 120 QUKW 60 QUSW 180
สรุป ทำไมถึง 2 ประเทศจึง trade ซึ่งกันและกัน แต่ละประเทศมี comparative advantage ในสินค้าคนละชนิด ทั้งสองประเทศที่ทำการค้าต่อกันมี welfare สูงขึ้นเมื่อ specialization ในสินค้าที่ตนมี comparative ตราบใดที่ราคาสินค้าในตลาดโลกต่างจากราคาที่ autarky, ประเทศที่ทำการค้ามี welfare สูงขึ้นเมื่อ trade. specialization และ trade เกิดขึ้นเองตามกลไกตลาด
Basic implications of the Ricardian Model ความแตกต่างใน Productivity ทำให้เกิดการค้าความแตกต่างใน OC ความแตกต่างใน OC ทำให้เกิด trade หาก Terms of Trade เอื้ออำนวย แต่ละประเทศส่งออกสินค้าที่ตนมี OC ต่ำกว่าอีกประเทศ
การทดสอบเชิงประจักษ์ Relative Labor Productivities and Comparative Advantage–United States and United Kingdom.
สิ่งที่ Ricardian model ตอบไม่ได้ ทำไมประเทศหนึ่งจึงทั้งส่งออกและนำเข้าสินค้าประเภทเดียวกัน ไทยทั้งส่งออกและนำเข้าอาหาร ทำไมในแต่ละประเทศจะมีคนบางกลุ่มที่ต่อต้านการเปิดเสรีทางการค้า ไม่สามารถแจกแจงผลกระทบจากการค้าที่มีต่อประชาชนแต่ละกลุ่ม ทำไมแต่ละประเทศมี labour productivities แตกต่างกัน ไม่สามารถบอกได้ว่าทำไมแรงงานจีนมีผลผลิตต่อหน่วยต่ำกว่าแรงงานอเมริกัน