บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
Advertisements

บทที่ 1 เรื่อง การฝากขาย Chollada Advance I : Consign.
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 11 ระบบบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows



การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
จัดทำโดย ฝ่าย บัญชี และ การเงิน IT ปี 3
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
บทที่ 12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 1 เป้าหมายและหน้าที่ในการบริหารการเงินเบื้องต้น.
The Analysis And Use of Financial Statement
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
ระบบบัญชีเดี่ยว.
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
สาเหตุของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
ลักษณะของระบบบัญชี.
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
โครงสร้างขององค์การ.
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
สถาบันเศรษฐกิจ.
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
บทที่ 9 เรื่อง งบการเงิน
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
บทที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
การใช้ชุดฝึกทักษะ การบันทึก รายการเกี่ยวกับสินค้า ใน สมุดรายวันเฉพาะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรง.
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
Creative Accounting
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ ของบุคคลหรือกิจการอย่างน้อยสองราย โดยมีการควบคุมร่วมกันตามที่ตกลงไว้ ในสัญญา

รูปแบบของการร่วมค้า การควบคุมร่วมในการดำเนินงาน (Jointly Controlled Operations) การควบคุมร่วมในสินทรัพย์ (Jointly Controlled Assets) การควบคุมร่วมในกิจการ (Jointly Controlled Entities)

การควบคุมร่วมในการดำเนินงาน (Jointly Controlled Operations) ไม่มีการจัดตั้งเป็นบริษัท ลักษณะ การดำเนินงาน ไม่มีการแยกโครงสร้างการเงินจากผู้ร่วมค้า ผู้ร่วมค้าจะใช้ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของตนเอง

การควบคุมร่วมในการดำเนินงาน (Jointly Controlled Operations) ลักษณะ การดำเนินงาน (ต่อ) - ผู้ร่วมค้าต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย และหนี้สินของตนเอง - มีการกำหนดการจัดสรรผลตอบแทนและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นร่วมกันไว้ในสัญญา - ไม่ต้องจัดทำงบการเงินของกิจการร่วมค้า

รายงานทางการเงิน เกี่ยวกับส่วนได้เสีย การควบคุมร่วมในการดำเนินงาน (Jointly Controlled Operations) รายงานทางการเงิน เกี่ยวกับส่วนได้เสีย สินทรัพย์ที่ผู้ร่วมค้าควบคุมและ หนี้สินที่ผู้ร่วมค้านั้นเป็นผู้ก่อขึ้น ค่าใช้จ่ายที่ผู้ร่วมค้าก่อให้เกิดขึ้นและส่วนแบ่งของรายได้จากการขายสินค้าหรือให้บริการที่ผู้ร่วมค้าควรได้รับ

การควบคุมร่วมในสินทรัพย์ (Jointly Controlled Assets) ลักษณะการดำเนินงาน ไม่มีการจัดตั้งเป็นบริษัท ไม่มีการแยกโครงสร้างการเงินจากผู้ร่วมค้า ผู้ร่วมค้าเป็นเจ้าของสินทรัพย์ในการร่วมค้าร่วมกัน ผู้ร่วมค้าได้รับส่วนแบ่งจากผลิตผลที่เกิดจากสินทรัพย์ ผู้ร่วมค้าต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตามสัดส่วนที่กำหนดไว้ ไม่ต้องจัดทำงบการเงินของกิจการร่วมค้า

รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสีย การควบคุมร่วมในสินทรัพย์ (Jointly Controlled Assets) รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสีย 1. สินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกันเฉพาะส่วนที่เป็นของตน 2. หนี้สินและค่าใช้จ่ายของผู้ร่วมค้าที่เกิดจากการจัดหาเงินทุน เพื่อซื้อสินทรัพย์ (เฉพาะส่วนที่ผู้ร่วมค้าควบคุม) 3. หนี้สินที่เกิดขึ้นร่วมกันจากการร่วมค้าเฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ร่วมค้า 4. รายได้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการร่วมค้าเฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ร่วมค้า

การควบคุมร่วมในกิจการ (Jointly Controlled Entities) ลักษณะ การดำเนินงาน - มีการจัดตั้งเป็นบริษัท - เป็นกิจการร่วมค้าที่มีสินทรัพย์อยู่ในการควบคุมของกิจการ - ผู้ร่วมค้าทุกรายมีอำนาจควบคุมกิจการร่วมค้าร่วมกัน - ผู้ร่วมค้าทุกรายมีสิทธิได้รับส่วนแบ่งจากผลการดำเนินงาน - ต้องมีการจดบันทึกรายการค้า และจัดทำงบการเงินของกิจการร่วมค้า

การควบคุมร่วมในกิจการ (Jointly Controlled Entities) รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสีย บันทึกบัญชีและจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการบัญชี เรื่อง “รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า”

“รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า” การควบคุมร่วมในกิจการ (Jointly Controlled Entities) “รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า” งบการเงินตามสัดส่วน - รวมแต่ละบรรทัด - แยกแต่ละบรรทัด งบการเงินเฉพาะกิจการของผู้ร่วมค้า

วิธีการปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับกิจการร่วมค้า กรณีที่ไม่ได้แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง กรณีที่แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง

บัญชีที่กิจการต้องเปิดขึ้นใหม่ กรณีที่ไม่ได้แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง บัญชีที่กิจการต้องเปิดขึ้นใหม่ บัญชีร่วมค้า มีลักษณะเป็นบัญชีกำไรขาดทุนจากการร่วมค้า โดยใช้บันทึกรายการเกี่ยวกับต้นทุนขาย ค่าใช้จ่าย และรายได้ บัญชีผู้ร่วมค้า แยกเป็นผู้ร่วมค้าแต่ละราย ใช้บันทึกส่วนได้เสียของผู้ร่วมค้า

กรณีที่แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง - ผู้ร่วมค้าที่ทำหน้าที่เป็น “ผู้ดำเนินการร่วมค้า” จะเป็นผู้บันทึกรายการทั้งหมดที่เกี่ยวกับการร่วมค้าในสมุดบัญชีของกิจการร่วมค้า - ผู้ร่วมค้าแต่ละฝ่าย จะบันทึกรายการค้าเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับตนในสมุดบัญชีของตนเอง

บัญชีที่กิจการต้องเปิดขึ้นใหม่ กรณีที่แยกการบันทึกบัญชีของการร่วมค้าเป็นอีกชุดหนึ่ง บัญชีที่กิจการต้องเปิดขึ้นใหม่ 1. บัญชีที่เกี่ยวกับการร่วมค้า (ในสมุดบัญชีกิจการร่วมค้า) 2. บัญชีเงินลงทุนในกิจการร่วมค้าหรือบัญชีร่วมค้า (ในสมุดบัญชีของผู้ร่วมค้า)