สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
ขนาดและพื้นที่ผิวเปลือกโลก ผิวโลกประกอบด้วยพื้นน้ำประมาณ 360,059,000 ตารางกิโลเมตร พื้นดินประมาณ 149,450,000 ตารางกิโลเมตร
1.2 เปลือกโลกและการเกิดทวีปต่าง ๆ เมื่อประมาณ 250 ล้านปีที่ผ่านมาเป็นยุคเพอร์เมียน แบ่งบริเวณเปลือกโลกอยู่ 2 ส่วน คือ 1. พันเจีย (Pangea) คือส่วนผืนแผ่นดินกว้างใหญ่เพียงผืนเดียว 1.1 ผืนแผ่นดินลอเรเซีย(Laursia)คือผืนแผ่นดินของซีกโลกเหนือเช่นเกาะกรีนแลนด์ ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย (ยกเว้นอินเดีย) ทวีปอเมริกาเหนือ 1.2 ผืนแผ่นดินกอนด์วานา (Gondwana) คือผืนแผ่นดินของซีกโลกใต้เช่น ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปออสเตรเลีย และทวีปแอนตาร์กติกา 2. พันทาลัสซา (Panthalassa) แผ่นดินที่มีหมาสมุทรอยู่รอบ ๆ
ทวีปเลื่อน ผู้ตั้งสมมติฐานทวีปเลื่อนคือ อัลเฟรด เวเกเนอร์ และ ฟรานซิส เบคอน ได้นำแผนที่ทวีปอเมริกาใต้ไปต่อกับทวีปแอฟริกาปรากฏว่าต่อกันได้พอดี โดยพิจารณาจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ปรากกในพื้นที่ดังนี้ 1. หลักฐานทางชีววิทยา เช่นฟอสซิล ถ่านหิน 2. หลักฐานทางธรนีวิทยา เช่น โครงสร้างของหิน ประเภท อายุ 3. หลักฐานทางอุตุนิยมวิทยา อิทธิพลของธารน้ำแข็ง
ลักษณะภูมิประเทศ เขาและเนินเขา ( Hill) เกาะ ( Island) ภูเขา (Mountain) คาบสมุทร( Peninsula) ทิวเขา (Mountain Range) แหลม (Cape) ที่ราบสูง(Plateau) ที่ราบ (Plain) ทะเล (Sea) ทะเลสาบ (Lake)
ลักษณะภูมิอากาศ
การเกิดกลางวันและกลางคืน เกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลกทำให้ทรงกลมของโลกได้รับแสงสว่างเพียงครึ่งเดียวส่วนที่ไม่ได้รับแสงจะมืด ความสว่างและความมืดบนโลกจะวนเวียนเปลี่ยนไปตามการหมุนของโลก
2. ความกดอากาศและการไหลเวียนของอากาศ 3.ทิศทางลมประจำ การเกิดฤดูกาล 1. อุณหภูมิของอากาศ 2. ความกดอากาศและการไหลเวียนของอากาศ 3.ทิศทางลมประจำ 4.ความชี้นของอากาศ
พืชพรรณธรรมชาติ แบบฝนชุกเขตร้อน แบบแห้งแล้ง แบบชื้นเขตอบอุ่น แบบชื้นเขตหนาว แบบเขตขั้วโลก
เขตภูมิอากาศของโลก ภูมิอากาศแบบฝนชุกเขตร้อน ภูมิอากาศแบบแห้งแล้ง ภูมิอากาศแบบชื้นเขตอบอุ่น ภูมิอากาศแบบชี้นเขตหนาว ภูมิอากาศแบบเขตขั้วโลก ภูมิอากาศแบบที่สูงหรือแบบภูเขา