รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการพัฒนาห้องช่างโลหะ อาคาร 7 โรงเรียนหล่มสักวิทยาคม
Advertisements

กราบขอบพระคุณ ที่ปรึกษางานวิจัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ O-NET
การศึกษารายกรณี.
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
หลักการพัฒนา หลักสูตร
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การทำกิจกรรมจิตวิทยาอาสาพัฒนาชุมชน ต.บ้านพร้าว อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
โครงการพัฒนาเทคโนโลยีส่งเสริมสุขภาพในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ครูผู้นิเทศของโรงเรียนสตรีอ่างทอง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
นายธีระพงษ์ แสงภักดี รหัสประจำตัวนักศึกษา
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวางแผนคนวางแผนงานสำหรับหัวหน้างาน
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
การสร้างวัฒนธรรมวิจัยให้นักเรียน
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
นายสมชาย มูลตุ้ย ผู้วิจัย
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ Constructionism พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาโครงการ ภาควิชาอุตสาหกรรม โดย นางสาวบุญส่ง ศรีอนุตร์ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เรื่อง จำนวนผู้เข้าสอบและคะแนน เฉลี่ย o-net ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปี การศึกษา ผู้จัดทำ นางสาวรวีวรรณ กองทอง เลขที่ 29 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก.
ผู้วิจัย ลัดดา เสาร์เป็ง
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2546

เรื่อง...พฤติกรรมการรับประทานผักของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โดยวิธีการเสริมแรงเชิงบวก

ความเป็นมา จากประสบการณ์ในการสอนวิชาสุขศึกษา และการเป็นครูที่ปรึกษา จากประสบการณ์ในการสอนวิชาสุขศึกษา และการเป็นครูที่ปรึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งได้ดูแลนักเรียนในการรับประทานอาหาร กลางวันของนักเรียนพบว่า นักเรียนหลายคนไม่ชอบรับประทานผัก ดังนั้นเพื่อต้องการให้นักเรียนได้เปลี่ยนพฤติกรรมมารับประทานผัก ผู้วิจัยจึงได้ทำวิจัยเรื่องนี้ขึ้นมา

วัตถุประสงค์ในงานวิจัย เพื่อให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของผักและรับประทานผักมากขึ้น เพื่อจะได้สุขภาพและร่างกายที่แข็งแรง

สมมติฐาน นักเรียนที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของผัก เปลี่ยนพฤติกรรมมารับประทานผักมากขึ้น

นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผัก ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผัก นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 จำนวน 48 คน ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 จำนวน 48 คน

ตัวแปรอิสระ การเสริมแรงเชิงบวก

พฤติกรรมการรับประทานผัก ตัวแปรตาม พฤติกรรมการรับประทานผัก

(ช่วงพักกลางวันของทุกวัน) ระยะเวลา 5 สัปดาห์ (ช่วงพักกลางวันของทุกวัน)

การเสริมแรงทางบวก หมายถึง การเสริมแรงทางบวก หมายถึง การให้ความรู้เกี่ยวกับผัก,ประโยชน์ของผักและการให้แรงจูงใจ นิยามศัพท์ พฤติกรรมการรับประทานผัก หมายถึง การมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผักของนักเรียน

วิธีการดำเนินการวิจัย ขั้นเตรียม * ศึกษาปัญหาของนักเรียน * เตรียมเอกสาร รูปภาพที่เกี่ยว ข้องกับการวิจัย

* นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยว ชาญตรวจสอบ ขั้นสร้าง * สร้างแบบสอบถาม * นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยว ชาญตรวจสอบ

ขั้นทดลอง 1. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ( ก่อนได้รับความรู้ ), ( เก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1) 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของผักพร้อมกับให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากป้ายนิเทศและทำกิจกรรมที่ครูกำหนดให้ 3. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ( หลังจากได้รับความรู้ ), ( เก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 )

ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติร้อยละในการวิเคราะห์ข้อมูลโดย ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทำแบบสอบถาม 2 ครั้ง ( ครั้งที่ 1 ก่อนได้รับความรู้ส่วนครั้ง ที่ 2 หลังจากได้รับความรู้ ) จากนั้นนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน

ตัวอย่าง แบบสอบถามเรื่อง การรับประทานผัก ตัวอย่าง แบบสอบถามเรื่อง การรับประทานผัก ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / ให้ตรงกับความเป็นจริงในการรับประทานผักแต่ละชนิดดังต่อไปนี้

ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ก่อนได้รับความรู้

แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ก่อนได้รับความรู้ 30.42 23.55 17.92 14.80

ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 หลังได้รับความรู้

แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 หลังได้รับความรู้ 55.21 26.25 8.33 8.54

ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1

แผนภูมิพฤติกรรมการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1

* นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 17.92 ผลการวิจัย ก่อนได้รับความรู้ * นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 17.92 * ชอบรับประทานผักปานกลางคิดเป็นร้อยละ 23.55 * ชอบรับประทานผักน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.42 * ชอบรับประทานผักน้อย คิดเป็นร้อยละ 14.80

* นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 55.21 หลังได้รับความรู้ * นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 55.21 * ชอบรับประทานผักปานกลางคิดเป็นร้อยละ 26.25 * ชอบรับประทานผักน้อยคิดเป็นร้อยละ 8.33 * ไม่ชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 8.54

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย …ทำให้นักเรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของผักและหันมารับประทานผักมากขึ้น... ข้อเสนอแนะ การที่นักเรียนรู้จักและเห็นคุณค่าของการรับประทานผักนั้นหากครูจะเป็นผู้ดูแลแต่เพียงฝ่ายเดียวก็ไม่ประสบผลสำเร็จได้จึงควรที่จะได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองทางบ้านด้วยเพื่อ จะได้ช่วยเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนเห็นคุณประโยชน์ของ การรับประทานอาหารประเภทผักอีกด้วย

ประกาศคุณูปการ งานวิจัยในชั้นเรียนนี้สำเร็จได้ด้วยความกรุณาอย่างสูงจากท่านผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารทุกท่าน หัวหน้างานวิชาการระดับประถม และอาจารย์รัชดาวรรณ กระสินธุ์ ที่ได้ให้ความกรุณาให้ความแนะนำช่วยเหลือปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนกระทั่ง ผู้วิจัยสามารถดำเนินงานวิจัยจนสำเร็จไปได้ด้วยดี ผู้วิจัยขอ กราบขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

ประกาศคุณูประการ 1. อาจารย์วิภาวดี ชีวะผลาบูรณ์ 2. อาจารย์กุสุมา ทองช่วง 3. อาจารย์สมคิด อาจมังกร 4. อาจารย์สุมาลี อัศวเรืองมรกต 5. อาจารย์สุพัตรา รื่นหาญ 6. อาจารย์รัชดาวรรณ กระสินธุ์

7. อาจารย์เสงี่ยม แสงโชติ 8. อาจารย์จุฑามาศ สินสกุล 9. อาจารย์นงนุช ชาญวิฑิตกุล 10. อาจารย์สุทธิ์สินี ยิ้นซ้อน 11. อาจารย์จีราวรรณ์ สิทธิภักดี 12. อาจารย์ทิพาพันธ์ บุญสนอง 13. อาจารย์ทิพยวรรณ สวัสดิวงศ์ 14. อาจารย์ทัศนีย์ ชั่งใจ 15.คณะครูกลุ่มสุขศึกษาและพลศึกษา