กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี การวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชื่องานวิจัย “การศึกษาพฤติกรรมความรับผิดชอบ ในการเก็บอุปกรณ์การเรียนวิชางานประดิษฐ์ เพื่อพัฒนากิจนิสัยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย”
ความเป็นมาของปัญหา วิชางานประดิษฐ์ เป็นวิชาหนึ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ วิชางานประดิษฐ์ เป็นวิชาหนึ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติจริง ส่วนหนึ่งที่ทำให้งานสำเร็จได้สมบูรณ์ คือ วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ นักเรียนจะต้องใช้และเก็บอุปกรณ์ ให้มีสภาพที่ดี พร้อมที่จะใช้งานได้ตลอดเวลา
จากการจัดการเรียนการสอนในกิจกรรมต่างๆ พบว่า จากการจัดการเรียนการสอนในกิจกรรมต่างๆ พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ขาดความรับผิดชอบ ในการเก็บอุปกรณ์การเรียน
เพื่อพัฒนากิจนิสัยที่ดีในด้านความรับผิดชอบ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากิจนิสัยที่ดีในด้านความรับผิดชอบ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในวิชางานประดิษฐ์ โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบ
สมมติฐาน นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีกิจนิสัยที่ดีด้านความรับผิดชอบในการเก็บ อุปกรณ์การเรียนให้ดีขึ้น
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ทราบว่าการจัดการเรียนการสอน 1. ทำให้ทราบว่าการจัดการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สามารถพัฒนากิจนิสัยที่ดี ด้านความรับผิดชอบในการเก็บเครื่องมือได้
ประเภทของงานวิจัย Quality Research
2. เพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูใช้พัฒนา การเรียนการสอนในวิชาต่างๆ 2. เพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูใช้พัฒนา การเรียนการสอนในวิชาต่างๆ
ขอบเขตการวิจัย การศึกษาพฤติกรรมความรับผิดชอบในการเก็บ อุปกรณ์การเรียนวิชางานประดิษฐ์เพื่อพัฒนากิจนิสัย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 - 6/6 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546 จำนวน 280 คน
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบในการเก็บอุปกรณ์การเรียน
เนื้อหา การปั้นขนมไทย
นิยามศัพท์เฉพาะ พฤติกรรมความรับผิดชอบ หมายถึง พฤติกรรมในการใช้อุปกรณ์การเรียน ในขณะเรียนได้อย่างถูกต้อง
หมายถึง นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับชั้น 2. นักเรียน หมายถึง นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย เริ่มตั้งแต่วันที่ 19 มกราคม – 13 กุมภาพันธ์ 2547 ตารางที่ 1 ระยะเวลาในการวิจัยพฤติกรรมความรับผิดชอบ เรื่อง การเก็บอุปกรณ์การเรียน
วิธีการดำเนินการวิจัย ขั้นเตรียม 1. ศึกษาปัญหาของผู้เรียน 2. ศึกษาเอกสาร ตำรา และผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. แผนการสอน เรื่อง การปั้นขนมไทย
ขั้นสร้าง 1. การเขียนแผนการสอนเพื่อแก้ปัญหา 2. สร้างแบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบ 3. นำแบบสังเกตให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
1. นำแผนการสอน เรื่อง การปั้นขนมไทย ไปใช้กับ ขั้นทดลอง 1. นำแผนการสอน เรื่อง การปั้นขนมไทย ไปใช้กับ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 – 6/6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546
3. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนที่เป็น 2. สังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบในเรื่อง การเก็บอุปกรณ์การเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม ความรับผิดชอบ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนที่เป็น กลุ่มตัวอย่าง ในชั่วโมงที่เรียนวิชางานประดิษฐ์
โดยการใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ในการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ระดับคุณภาพเกี่ยวกับพฤติกรรมความรับผิดชอบ คะแนนเฉลี่ย 1.34-2.00 ดี = 2 คะแนนเฉลี่ย 0.67-1.33 ปานกลาง = 1 คะแนนเฉลี่ย 0-0.66 ควรปรับปรุง= 0
สรุปผลการวิจัย นักเรียนมีพฤติกรรมความรับผิดชอบสูงขึ้น สามารถจัดเก็บ ส่งคืน และดูแลรักษาอุปกรณ์การเรียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
ข้อเสนอแนะ 1. การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ จะต้องใช้ระยะเวลาที่เหมาะสม 1. การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ จะต้องใช้ระยะเวลาที่เหมาะสม เพราะนักเรียนจะได้ปฏิบัติงานได้เต็มที่ และมีประสิทธิภาพ 2. ควรทำการวิจัยลักษณะเดียวกันนี้กับวิชาอื่นๆ
God Bless You