for Beginning & Publishing MS Word 2010 for Beginning & Publishing
agenda การปรับหน่วย การกำหนดพื้นที่ รู้จักกับ paragraph การตั้งค่า style และการนำไปใช้ หัว-ท้ายกระดาษ สร้างสารบัญ แบบอัตโนมัติ
เปลี่ยนหน่วยให้ MS Word
1 Area and space
พื้นที่กระดาษ และพื้นที่เนื้อหา ระยะขอบพื้นที่เนื้อหา ระยะขอบขนาดหนังสือ ระยะขอบเผื่อตัดตก (พื้นสี) ชื่อเรียกขนาดหนังสือ ขนาดหนังสือ (mm) ระยะขอบ (mm) A4 กว้าง = 210 สูง = 297 ระยะซ้าย-ขวา = 25 ระยะบน-ล่าง = 25 A4 (พื้นสี) กว้าง = 216 สูง = 303 ระยะซ้าย-ขวา = 28 ระยะบน-ล่าง = 28 A5 กว้าง = 148 สูง = 210 ระยะซ้าย-ขวา = 20 ระยะบน-ล่าง = 20 A5 (พื้นสี) กว้าง = 154 สูง = 216 ระยะซ้าย-ขวา = 23 ระยะบน-ล่าง = 23 8 หน้ายก กว้าง = 190.5 สูง = 260 8 หน้ายก (พื้นสี) กว้าง = 196.5 สูง = 266
พื้นที่กระดาษ และพื้นที่เนื้อหา ระยะขอบพื้นที่เนื้อหา ระยะขอบขนาดหนังสือ ระยะขอบเผื่อตัดตก (พื้นสี) ชื่อเรียกขนาดหนังสือ ขนาดหนังสือ (inch) ระยะขอบ (inch) A4 กว้าง = 8.27 สูง = 11.69 ระยะซ้าย-ขวา = 0.98 ระยะบน-ล่าง = 0.98 A4 (พื้นสี) กว้าง = 8.50 สูง = 11.93 ระยะซ้าย-ขวา = 1.10 ระยะบน-ล่าง = 1.10 A5 กว้าง = 5.83 สูง = 8.27 ระยะซ้าย-ขวา = 0.79 ระยะบน-ล่าง = 0.79 A5 (พื้นสี) กว้าง = 6.06 สูง = 8.50 ระยะซ้าย-ขวา = 0.91 ระยะบน-ล่าง = 0.91 8 หน้ายก กว้าง = 7.50 สูง = 10.24 8 หน้ายก (พื้นสี) กว้าง = 7.74 สูง = 10.47
การกำหนดพื้นที่ใน MS Word 1 ระยะขอบเอกสาร+ระยะเผื่อตัดตก เผื่อตัดตก ไม่เผื่อตัดตก = ขนาดกระดาษ + เผื่อตัดตก (ถ้ามี)
การกำหนดพื้นที่ใน MS Word 2 พื้นที่เนื้อหา การกำหนด ระยะขอบพื้นที่เอกสาร
2 Paragraph, Styles etc.
Paragraph คือ Tab คือ เว้นวรรค
จัดระยะห่างภายในและภายนอก paragraph ระยะห่างเหนือ paragraph ระยะห่างใต้ paragraph ระยะห่างบรรทัดภายใน paragraph
ขนาดตัวหนังสือ (Font)ของเนื้อหาที่เหมาะสมกับขนาดงาน ขนาดงาน A5 : ขนาดตัวหนังสือที่เหมาะสมควรใช้ ขนาด 14 pt. ขนาดงาน A4 และ 8 หน้ายก : ขนาดตัวหนังสือที่เหมาะสมควรใช้ ขนาด 15-16 pt. * หมายเหตุ : font บางตัวอาจจะอาจจะ ตัวเล็ก หรือ ใหญ่ กว่ามาตฐาน ให้อ้างอิงจาก font AngsanaUPC, TH Saraban, BrowalliaUPC เป็นต้น
Style คือรูปแบบของการตั้งค่าตัวอักษรเป็นกลุ่ม ประโยชน์ คือ ง่าย แก้ไข เปลี่ยนแปลง รูปแบบข้อความได้พร้อมๆ กันทั้งเล่ม รูปแบบข้อความทั้งเล่มจะไม่ต่างกัน (แยกกันทำหลายคน) รวดเร็วตั้งแต่ สร้าง จัดหน้า และแก้ไข สร้างระบบอัตโนมัติ เช่น สารบัญ ได้ง่ายในภายหลัง
การตั้งค่า Style การสร้าง style ขึ้นใช้งาน กำหนดรูปแบบให้กับตัวอักษรและ/หรือ paragraph ก่อน แล้วกดสร้าง
การตั้งค่า Style 1 การแก้ไข style คลิกขวาที่ style แล้วกด modify 2 3
Save to share 1 Save ไว้ ใช้กับเครื่องอื่น 2 3 4
save 2 กด copy 1 เลือก style ที่ต้องการ
using กด close file เพื่อเลือก template
File template : xxxxxx.dotm C:\Users\Mcdogwon\AppData\Roaming\Microsoft\Templates
3 หัว-ท้ายกระดาษ สิ่งที่ต้องการให้แสดงในทุกๆ หน้า หรือเลขหน้า เราควรสร้างสิ่งเหล่านี้แยกกับส่วนเนื้อหา หรือก็คือส่วน หัวกระดาษท้ายกระดาษ
พื้นที่ หัว-ท้ายกระดาษ พื้นที่หัวกระดาษ พื้นที่ท้ายกระดาษ พื้นที่เนื้อหา
เลขหน้าชิดซ้าย-ขวา ทำได้ไม่ยาก แนวคิดคือการสร้าง template หัว-ท้ายกระดาษ ต่างกันระหว่างหน้าซ้าย-ขวา ส่งผลให้ เราต้องออกแบบส่วน หัว-ท้ายกระดาษ 2 ครั้ง เพื่อหน้าซ้ายและหน้าขวา
ตัวอย่าง 2 หน้าซ้าย-ขวา ไม่เหมือนกัน ตัวอย่าง 2 หน้าซ้าย-ขวา ไม่เหมือนกัน
สร้าง template สำหรับ หน้าแรกของเอกสาร หน้าแรก ไม่มีเลขหน้า สร้าง template สำหรับ หน้าแรกของเอกสาร
สรุป หัว-ท้ายกระดาษ MS Word เปิดให้เราสร้าง template หัว-ท้ายกระดาษได้ 3 รูปแบบ คือ หน้าแรก หน้าคี่ หน้าคู่
4 Auto
Auto markup สารบัญ -Table of content ดัชนี -Index Footnote
1 สารบัญ 2 3 การสร้าง 1 กำหนดรูปแบบ(template) ให้หัวข้อ ตามระดับของข้อความ 2 สั่งงาน word โดย กดที่ References>table of contents แล้วเลือกรูปแบบตามต้องการ
การปรับแต่ง กำหนดรูปแบบ styles level กำหนดหัวข้อสารบัญ
Index วิธีสร้าง 1 เลือกข้อความที่ต้องการทำ index 2 กดปุ่ม Mark Entry จะแสดงให้ตั้งค่าต่างๆ 3 เลือกให้เป็น current page แล้วเลือก หรือพิมพ์ข้อความตามต้องการ แล้วกด Mark
2 เด้งหน้าตั้งค่าขึ้นมา 1 เลือกคำที่ต้องการ 3 กำหนดค่าแล้วกด mark
เมื่อกดปุ่ม mark แล้ว ระบบจะสร้าง tag ขึ้นมา ไม่ต้องสนใจ tag ที่มันสร้างขึ้นมา
Footnote วิธีสร้าง 1 คลิ๊กตำแหน่งที่ต้องการใส่ footnote แล้วกด insert footnote 2 พิมพ์คำอธิบาย ปุ่ม next footnote ช่วยให้กระโดดไป footnote ถัดไป ปุ่ม insert endnote ไปเพิ่ม footnote ไว้ท้ายเอกสาร ปุ่ม show note คือ แสดงว่ามีอะไรบ้าง
สร้างเส้นและตัวเลขให้อัตโนมัติ แล้วเราก็พิมพ์คำอธิบายเข้าไป
ตั้งค่าอื่นๆ
ขอบคุณครับ Mcdogwon@gmail.com วรวุฒิ โรงพิมพ์แห่งจุฬาฯ
ภาพชัด-ไม่ชัด dot per inch คุณภาพต่ำ คุณภาพสูง
การเรียงตัว pixel บนหน้าจอแบบต่างๆ Display แบบต่างๆ LCD Display