คณิตศาสตร์ : สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ จัดทำโดย นาย รัชชานนท์ สายบุญตั้ง เลขที่ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๓ เสนอ อาจารย์ ชัยสิทธิ พงษ์พัฒน์
ประวัติของคณิตศาสตร์ มนุษย์ได้คิดค้นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ในสมัยของบาบิโลนและอียิปต์ มีการใช้สัญลักษณ์ภาพวาด ในการแทนจำนวนและเกิดการคำนวณเวลาและ การค้าขายเกิดขึ้น ต่อมาในสมัยกรีกและโรมันได้มีการคิดค้นเลขโรมัน ( I,II,III,IV,V ) แทนในการนับหรือแทนจำนวนสิ่งต่างๆ จากนั้นวิวัฒนาการ การมาเป็นเลขฮินดูอาราบิคในแบบปัจจุบันเมื่อสมัยของโรมันล้มสลายโดยรับมาจากอินเดีย และได้มีการนำหลักแนวคิดของนักคณิตศาสตร์ รุ่นก่อนๆ มาประยุกต์ใหม่ ขึ้นในแขนงต่างๆของคณิตศาสตร์ขึ้น จนมาถึงปัจจุบัน
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ชุดที่ ๑ (พื้นฐาน) อาทิ เครื่องหมายบวก (+) : 2+5 = 7 เครื่องหมายลบ (-) : 5-2 = 3 เครื่องหมายคูณ (x) : 5x2 =10 เครื่องหมายหาร (÷) : 5÷10 = 2
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป ( ๒ ) สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ชุดที่ ๒ (จำนวนยกกำลังและราก) อาทิ จำนวนยกกำลังสอง (n²) : 4² = 4x4 จำนวนยกกำลังสาม (n³) : 3³ = 3x3x3 รากที่สอง (√n) : √49 = 7 รากที่สาม (∛n) : ∛8 = 2
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป ( ๓ ) สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ชุดที่ ๓ (รูปแบบจำนวนและสัดส่วน) อาทิ จำนวนบวก(n) : 1,2,3,4,5……n จำนวนลบ(-n) : -1,-2,-3,-4,-5…..-n จำนวนบวกหรือจำนวนลบ (±n) : ±5 = 5 หรือ (-5) อัตราส่วน (m:n) : 5 : 2 เป็นสัดส่วนกับ.... : (∝) เปอร์เซ็นต์ (%) : 0.5 = 50%
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป ( ๔ ) สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ชุดที่ ๔ (มุมและค่าคงตัวของวงกลม) อาทิ องศา : (n°) ค่าพาย (π) : มีค่าประมาณ 3.141592654… มุม : (∠) มุมฉาก : (∟) มุมที่ไม่ทราบค่า (เบต้า) : θ มุมที่ไม่ทราบว่า (แอลฟ่า) : α
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป ( ๕ ) สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ชุดที่ ๕ (เครื่องหมายแสดงผลลัพธ์) อาทิ เครื่องหมายเอกลักษณ์ (≡) : 3x ≡ 5x-2x น้อยกว่า (<) : 1< 3 มากกว่า (>) : 3 > 1 น้อยกว่าหรือเท่ากับ : (≤) มากกว่าหรือเท่ากับ : (≥) ไม่เท่ากับ : (≠) ค่าประมาณ : (≈) ผลรวม : (∑)
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทั่วไป ( ๖ ) สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ชุดที่ ๖ (เซต) อาทิ เซต ( {n} ) : A = {2,5,8,9} เป็นสมาชิกของ (∈) : 3 ∈ {1,2,3,4} ไม่เป็นสมาชิกของ (∉) : 4 ∉ {5,6,8} เอกภพสัมพัทธ์ : (U) เซตว่าง : ( { } หรือ Φ ) ยูเนียน หรือถ้วย (υ) : {3,5,8} υ {1,2,3} = {1,2,3,5,8} อินเตอร์เซกชัน หรือหมวก (∩) : {3,5,8} ∩ {1,2,3} = {3}
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ : ไพอาร์(π) ผู้คิดค้น : อาร์คิมิดีส ประวัติ: ไพ หรือ พาย คือค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ เกิดจากเส้นรอบวงของ วงกลมหารด้วยเส้นผ่าศูนย์กลาง เป็นสัญลักษณ์ที่ ใช้ ในวิชาฟิสิกส์ และ วิศวกรรมซึ่งในกรีก ใช้สัญลักษณ์เป็น “ P ” (อ่านว่า พาย ในอังกฤษ แต่ในภาษากรีกอ่าน พี ) บางครั้งก็เรียกว่า “ค่าคงตัวของอาร์คิมิดีส” หรือ “จำนวนของลูดอล์ฟ” เกี่ยวกับ : การหาพื้นที่วงกลม หรือ แทนสูตรประยุกต์ ของวิชาต่าง อาทิ ดารา- ศาสตร์ ฟิสิกส์ เป็นต้น
บรรณานุกรม http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=2414 http://www.thaistudyfocus.com/ http://th.wikipedia.org