กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

โลกและความท้าทายในศตวรรษที่ ๒๑
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
โครงการสัมมนา การจัดการความรู้เพื่อยกระดับ โดย นางนีรนุช แสวานี
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
การปรับเปลี่ยนวิธีคิดทำงานใหม่
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
เพื่อคุณภาพของเด็กและเยาวชน
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
มาตรฐานวิชาชีพครู.
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ในอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช กรรมการบริหารสถาบันคลังสมองฯ นำเสนอในการประชุมเพื่อนําเสนอผลจากการดําเนินงานตามโครงการปฎิบัตกิ าร ภายใต้หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลงรุ่น.
ความเป็นครู.
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
ปฏิรูปการศึกษาท้องถิ่น ปฏิรูปการผลิตและพัฒนาครูของท้องถิ่น
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่ ได้จริง..แต่... วิจารณ์ พานิช นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล อภิปรายในการสัมมนาวิชาการ “กลไกชาติสร้างเด็กไทยก้าวทันโลกยุคใหม่ได้จริงหรือ?” จัดโดย คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส วุฒิสภา ดำเนินงานโดย คณะอนุกรรมาธิการด้านเด็กและเยาวชน ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๖

7 เปลี่ยน ต้องไม่ทำแบบเดิม ลดขนาดกระทรวงศึกษาธิการลง ๑๐ เท่า ยุบ สมศ. เปลี่ยนไปทำงานวิชาการด้านการประเมิน เอื้ออำนาจแก่ครู / จุดใกล้ชิดเด็กที่สุด เปลี่ยนเป้าหมายการศึกษา จากสร้างผู้ตาม เป็นสร้างผู้นำ เลิกเน้นสอน เปลี่ยนไปเน้นเรียน เปลี่ยนวิธีการเรียนรู้ / การผลิต ครู เปลี่ยนวิธีการพัฒนาครูประจำการ

ลดขนาดกระทรวงศึกษาธิการ เหลือ 1/10 ปลดปล่อย รร./ครู ออกจากอำนาจรวมศูนย์ เพื่อลดการใช้อำนาจควบคุมสั่งการ ให้ครูได้ใช้เวลากับศิษย์ เอาใจใส่เป็นรายคน ให้เรียนแล้วเกิด Mastery Learning กศธ. ทำงานข้อมูล ระบบ วิชาการ เชื่อมโยงกับการพัฒนาประเทศ เชื่อมโยงกับโลก - เปลี่ยนทักษะของบุคลากรของกระทรวงฯ

การประเมินในปัจจุบันนำสู่ศีลธรรมเสื่อม เปลี่ยนระบบประเมิน เน้นประเมินโดยครู โดยผู้เรียนเอง/พ่อแม่ เน้นประเมินเพื่อพัฒนา - Formative Evaluation เน้นประเมินทักษะ, competency ที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ไมใช่เน้นประเมินความรู้่ ไม่เกิด “สอนเพื่อสอบ” (Teach to Test) ส่วนกลางทำงานพัฒนาวิธีการประเมิน ตรวจสอบความแม่นยำในการประเมินของครู/โรงเรียน การประเมินในปัจจุบันนำสู่ศีลธรรมเสื่อม

ให้คุณค่าแก่ครู การใช้ครูเป็น “ครูสอน” เป็นการลดทอนคุณค่าของครู ยิ่งลดทอน หากเป็น “ครูรับคำสั่ง” เพราะทำให้ไม่ได้ฝึกความริเริ่มสร้างสรรค์ ยิ่งลดทอน เพราะมัวแต่สนองนาย ไม่สนองศิษย์ ครูที่มีคุณค่าต่อศิษย์ : ครูฝึก และสมาชิกชมรมเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ (PLC) เพื่อ : ศิษย์(ทุกคน)เรียนรู้จริง เกิดทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ เรียนรู้บูรณาการทั้ง ๕ ด้าน

เปลี่ยนเป้าหมายการศึกษา ให้ทันโลกยุคใหม่ จากสร้างผู้ตามแห่งศตวรรษที่ ๒๐ มาเป็นสร้างผู้นำแห่งศตวรรษที่ ๒๑ จากคนที่คิดตามๆ กัน มาเป็นสร้างคนที่คิดเป็น เป็นตัวของตัวเอง กล้าสร้างนวัตกรรม จาก “ผู้รู้” คำตอบที่ถูกต้องคำตอบเดียว มาเป็นผู้คิดคำตอบได้หลายคำตอบ จากผลิตนักรับถ่ายทอด ค. มาเป็น Learning by Doing จากเอาใจใส่เฉพาะเด็กเก่ง มาเป็นเอาใจใส่ทั้งชั้น

เปลี่ยนวิธีการจัดการศึกษา จากเน้นสอนความรู้ สู่เน้นเรียน/ฝึก ทักษะ จากเน้นสอนวิชา สู่เน้นเรียนบูรณาการครบ ๕ ด้าน จาก สอนมาก เรียนน้อย สู่ Teach less, Learn more จากเน้นจากการสอนเพื่อสอบ เป็น เรียนเพื่อพัฒนาทักษะ ๕ ด้าน จากเรียนวิชาที่โรงเรียน เป็น กลับทางห้องเรียน .ใช้เวลาในห้องเรียนฝึกใช้ ค. ให้ศิษย์ทุกคน เรียนแล้วรู้จริง (Mastery)

เปลี่ยนวิธีการผลิตครู จากวิธีปัจจุบัน สู่ เรียนแบบกลับทางห้องเรียน จากเรียนเป็นรายวิชา เป็น เรียนบูรณาการ เรียนให้ได้ ทักษะด้านการเรียนรู้ : Learn, Delearn, Relearn เรียนแบบรู้จริง (Mastery Learning) เข้าใจ และรู้วิธีปรับปรุงวิธีเรียนของตนเอง (Meta-cognition Skills)

เปลี่ยนวิธีพัฒนาครูประจำการ จากเน้น Training Mode สู่ เน้น Learning Mode ครูจับกลุ่ม เป็นทีม/ชุมชน เรียนรู้วิธีทำหน้าที่ “ครูฝึก” – Professional Learning Community (PLC) มีโค้ชให้ครู Reward ครูที่ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของศิษย์ดี ไม่ใช่ผลงานในกระดาษ

สรุป การสร้างเด็กไทยให้ก้าวทันโลก ทำไม่ได้หากยังมีโครงสร้างการบริหารการศึกษาแบบเดิม ใช้กระบวนทัศน์เดิม ... กศ. แห่ง ศตวรรษที่ ๒๐ / ๑๙ ต้องเปลี่ยนโดยสิ้นเชิง สู่กระบวนทัศน์ และวิธีการแห่งศตวรรษที่ ๒๑