แนวคิดการจัดการชีวิต เพื่อพิชิตการเรียนรู้ แนวคิดการจัดการชีวิต เพื่อพิชิตการเรียนรู้ ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร กองกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Key Word แนวคิด การจัดการชีวิต พิชิตการเรียน
จัดการชีวิต พิชิตการเรียนรู้ ทำไมต้องจัดการ ไม่จัดการได้หรือไม่ จัดการชีวิต พิชิตการเรียนรู้ ทำไมต้องจัดการ ไม่จัดการได้หรือไม่ ? จัดการอะไร จัดการอย่างไร ? จัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งอะไร ?
การมีเพียงเป้าหมาย ไม่เคยทำให้ใครสำเร็จ ยกเว้นแต่ลงมือทำด้วยความมุ่งมั่น
ยุคสังคมฐานความรู้ (Knowledge Based Society) สภาวะท่วมท้นของความรู้ ความรู้ คือ พลัง ความรู้เป็นฐานในการพูด คิด ตัดสินใจ ความรู้เพื่อเสริมศักยภาพแห่งตน (สร้างมูลค่าเพิ่มให้ตนเอง) ความรู้เพื่อความอยู่รอด การเรียนรู้เร็ว
เท่าทันโลกอนาคต ความรู้ และ ทักษะ เป็นสิ่งจำเป็นใน การดำเนินชีวิต ทำอะไร 1 อย่าง ต้องใช้ความรู้หลาย อย่างประกอบกัน ปริญญาลดความสำคัญลง ลดความหมาย
เท่าทันโลกอนาคต นิสิตรุ่นใหม่ต้องใช้ความรู้ที่หลากหลายและประสบการณ์รอบด้านมากกว่าอดีต ศักยภาพและสมรรถนะในตัวนิสิต คือ ความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัว
มองหน้าหาอนาคต ตลาดแรงงานไม่แน่นอน คู่แข่งในตลาดแรงงานมีจำนวนมาก ความต้องการคนทำงานที่มีศักยภาพ ปัญหาสังคมทวีความรุนแรงขึ้น
มองหน้าหาอนาคต ความรู้จะมีความสำคัญต่อ การดำเนินชีวิต - ความรู้อาจเรียนทันกันหมด - การสะสมความรู้เป็นสิ่งจำเป็น - คนมีความรู้ดี คิดเก่ง จะมีค่าตัวแพง
มองหน้าหาอนาคต แนวคิดในการรับคนเข้าทำงานเปลี่ยนไป - เน้นสมรรถนะในตน มากกว่า ความรู้ - มีทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ มีจินตนาการ - เน้นคนมากประสบการณ์ - มีความสามารถหลากหลาย - มีบุคลิกภาพที่ดี - ทำงานกับผู้อื่นได้
เรามาเรียนในหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาเรียนเพื่ออะไร ? เรามาเรียนในหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาเรียนเพื่ออะไร ? อยู่ที่ตัวตั้งของความคิด
ความฝันนิสิต ปริญญา โอกาส อาชีพที่ดี ความก้าวหน้าในชีวิต
ความสุข / คุณภาพชีวิตที่ดี ความฝันของนิสิต ความสุข / คุณภาพชีวิตที่ดี ความสำเร็จ การได้รับการยอมรับ ฝันที่เป็นจริง & เป็นเพียงแค่ความฝัน
คำคม คนเราถ้ามีความฝัน และไม่ทิ้งความฝันระหว่างทาง ก็มีโอกาส จะบรรลุความฝันได้ ว.วชิรเมธี
เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บัณฑิต คุณลักษณะบัณฑิตที่จำเป็นต้องพัฒนา - ไม่พร้อมที่จะทำงาน - ภูมิคุ้มกันในตนเองไม่มากพอ - ทักษะไม่เพียงพอต่อการทำงาน ในยุคใหม่ - มีปัญหาในการสื่อสารด้วยการเขียน และพูด - ขาดนิสัยไฝ่รู้
เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บัณฑิต ประเด็นคุณภาพที่ต้องการ * ความสามารถในการเผชิญกับ Change - คิดได้เอง - สามารถแก้ปัญหา - ปรับตัวกับสภาวะการเปลี่ยนแปลง - วุฒิภาวะความเป็นผู้นำ * ความสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
ทิศทางการรับบัณฑิตเข้าทำงานในอนาคต ตลาดเป็นของนายจ้าง ต้องการบัณฑิต : ดี พร้อม เก่ง (คิดเป็น + ทำได้) - สารพัดประโยชน์ (สากกะเบือยันเรือรบ) - หลากหลายทักษะ - มีประสบการณ์การทำงาน (ทำงานเป็น) - พร้อมทำงานร่วมกับผู้อื่น - สู้งาน (อดทนต่อความยุ่งยาก) - แสดงออกรับผิดชอบสูง - จิตสำนึกบริการ ช่วยเหลือกัน
ทิศทางอนาคต ทักษะที่ต้องใช้ในวิชาชีพและวิชาชีวิต มีมากขึ้น - การสร้างความรู้ด้วยตนเอง - การแสวงหาความรู้ - การจัดการความรู้ - EQ - AQ - ความคิดเชิงบวก / ความคิดเชิงนวัตกรรม - ฯลฯ
บัณฑิตในอนาคต ต้องการคุณลักษณะที่สูงกว่าปัจจุบัน เน้น “ความรู้” “สมรรถนะ” ควบคู่ “การมีภูมิคุ้มกันตนเอง” หลากหลายความสามารถ พร้อมทำงาน พร้อมทุกสถานการณ์
มองอนาคต การก้าวสู่บัณฑิตที่มีคุณภาพ - ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จาก มก. ไม่เพียงพอ - แหล่งความรู้และแหล่งประสบการณ์ ใน มก. ไม่เพียงพอ - นิสิตต้องเสริมความรู้และประสบการณ์ ให้ตนเองอีกมาก
เข้าใจสภาวะ Change บัณฑิตยุคใหม่ พร้อมปรับตัว อาจต้องทำงานไม่ตรงกับสาขาวิชาที่เรียน เพราะสภาวการณ์ที่เปลี่ยน ไม่มีวิชาสอน
จึงต้องเข้าใจสภาวะความเป็นไป จึงต้องเตรียมการเพื่ออนาคต บัณฑิตยุคใหม่ จึงต้องเข้าใจสภาวะความเป็นไป จึงต้องเตรียมการเพื่ออนาคต
ความสำเร็จในชีวิตการเรียนรู้ มหาวิทยาลัย ตัวนิสิตเอง
การดำเนินงานของมหาวิทยาลัย จัดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะนิสิต - พัฒนาบุคลิกภาพ - เสริมทักษะ (สร้างมูลค่าเพิ่ม) เร่งสร้างแนวทางเพื่อส่งเสริมการมีงานทำ - ประสานงานเครือข่ายศิษย์เก่า - ศูนย์ข้อมูลข่าวสารการรับสมัครงาน สร้างโอกาสใหม่ - การประกอบอาชีพส่วนตัว
เครื่องมือสนับสนุนของมหาวิทยาลัย อาจารย์ที่ปรึกษา ศูนย์ให้คำปรึกษา กองกิจการนิสิต
นิสิต เตรียมตนเองแล้วยัง เตรียมตนเองอย่างไร
เมื่อศึกษาในมหาวิทยาลัย ควรใช้เวลาทำอะไรเพื่อตนเอง เมื่อศึกษาในมหาวิทยาลัย ควรใช้เวลาทำอะไรเพื่อตนเอง เมื่อจบจากมหาวิทยาลัย ถึงเวลาต้องทำอะไรเพื่อผู้อื่นและส่วนรวม
การจัดการชีวิต : จุดเริ่มต้น เข้าใจตนเองตามความเป็นจริง ยอมรับตนเอง ตระหนักว่าตนเองต้องเร่งพัฒนา มองเห็นความเสียหายในตน หากไม่เร่งพัฒนา วางเป้าหมายในชีวิต
“คน” ไม่มีเป้าหมายชีวิต คนขาด “ทิศทาง” ที่จะก้าวเดิน คนขาดการเตรียมการสำหรับตนเอง คนใช้ชีวิตไป วัน – วัน เพราะไม่รู้เรียนไปทำไม เรียนไปเพื่ออะไร ชีวิตเช้าไป – เย็นกลับ คนขาดแรงจูงใจที่จะเรียน (เข้าเรียนด้วยความ เบื่อหน่าย ออกจากห้องเรียนด้วยความว่างเปล่า) ชีวิตผ่านไป หัวใจขาดพัฒนาการ
เป้าหมายการเรียนของนิสิต เป้าหมายการเรียน 16 ปี 1. เรียนเพื่อจบ ได้ปริญญา เกรดไม่สำคัญ (2.00-2.50) ไม่ค่อยเรียน ไม่สนใจทำกิจกรรมส่วนรวม 2. เรียนเพื่อให้ ได้งานทำ ได้ปริญญา เกรดปานกลาง (2.5-3.00) พยายามประคองตัวเอง- เรื่องเรียน ทำกิจกรรมบ้าง 3. เรียนเพื่อให้ ได้งานทำ (ที่ดี) ได้ปริญญา เกรดเป็นสิ่งสำคัญ (2.75-4.00) ตั้งใจเรียนมาก และ/หรือชอบทำกิจกรรมส่วนรวม
ข้อคิดการจัดการชีวิต : ดร.เสรี พงศ์พิศ ข้อคิดการจัดการชีวิต : ดร.เสรี พงศ์พิศ ชีวิตต้องมีการจัดการ ไม่ใช่ปล่อยไปตามบุญตามกรรม
ศึกษาในมหาวิทยาลัย มีเวลาให้เรียนรู้เพียง 4 ปี ศึกษาในมหาวิทยาลัย มีเวลาให้เรียนรู้เพียง 4 ปี 4 ปีในรั้วมหาวิทยาลัย คือ 4 ปีแห่ง การบริหารเวลา เรื่องจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ มีอยู่มากมาย ไม่มีเป้าหมาย ไม่มีก้าวเดิน 4 ปีในมหาวิทยาลัย อาจจะได้กระดาษ เพียงแผ่นเดียว ที่อาจไม่ช่วยอะไรเลย
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย การค้นหา “ตนเอง” - ต้องการอะไร - สนใจอะไร - จุดดีที่มีในตน - จุดควรพัฒนาในตน - เอกลักษณ์ในตน การกำหนดก้าวเดินของชีวิต
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย รู้จำ (เน้นท่องจำ) รู้จริง (เน้นความเข้าใจ เกิดจากการมีข้อมูล รู้จักวิเคราะห์ รู้เชื่อมโยง และรู้จักใช้เหตุผล) ** ช่วยให้คิดเป็น ทำเป็น รู้แจ้ง (รู้ภาพรวมของเรื่อง รู้คุณ-โทษ รู้เท่าทัน รู้กัน-รู้แก้) ระดับปัญญา ** ช่วยให้คิดถูก ทำถูก
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย เรียนรู้วิชาการ เรียนรู้ตนเอง เรียนรู้ผู้อื่น เรียนรู้บริบทสังคมไทย เรียนรู้โลกาภิวัตน์ เรียนรู้คุณธรรม เรียนรู้ความจริงแห่งชีวิต (ชีวิตเหมือน ด้านของเหรียญ)
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย ไม่ใช่การเรียนรู้ในเรื่องวิชาการแต่เพียงอย่างเดียว แต่เรียนรู้ทุกสิ่งรอบตัวเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์และพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ให้แก่ตนเอง (All Round Development)
TIP ข้อคิดชีวิตการเรียนรู้ ว.วชิรเมธี เวลาพบความผิดหวัง ให้บอกตัวเองว่า นี่คือวิธีที่ธรรมชาติกำลังสร้างภูมิคุ้มกันให้ชีวิต เวลาเจองานหนัก ให้บอกตัวเองว่า นี่คือโอกาสการเตรียมพร้อมสู่ความเป็นมืออาชีพ เวลาเจอแฟนทิ้ง ให้บอกตัวเองว่า นี่คือความเป็นอนิจจังที่ทุกชีวิตมีโอกาสพานพบ เวลาเจอความทุกข์หนัก ให้บอกตัวเองว่า นี่คือแบบฝึกหัดที่ทำให้ที่จะช่วยให้เกิดทักษะการดำเนินชีวิต
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย การได้มาซึ่งความรู้ ความรู้มิใช่ได้มาจากการท่องจำ การจด lecture ให้ทัน แต่ได้มาจากการรู้จัก ค้นคว้า ตั้งคำถาม การทำความเข้าใจ การรู้จักวิเคราะห์ การจับประเด็นสาระ
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย NO การเรียนรู้เพื่อให้ได้ปริญญา NO การเรียนรู้จากการเข้าชั้น เรียนเพียงอย่างเดียว NO การเรียนรู้โดยใช้วิธีท่องจำ
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย สร้างความเชี่ยวชาญในสาขาที่ตนศึกษา สะสมความรู้และประสบการณ์เพื่อเป็น เครื่องมือในการประกอบอาชีพ (สร้างมูลค่าเพิ่มในตน) พัฒนาลักษณะนิสัยเพื่อพร้อมต่อการ ดำเนินชีวิตในอนาคต (สร้างภูมิคุ้มกันในตน)
ทักษะการเรียนรู้ เครื่องมือสำคัญเพื่อการได้มาซึ่งความรู้
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย การสร้าง “โอกาส” เพื่อพัฒนาตนเอง - โอกาสการเรียนรู้เพื่อให้ได้หลักคิด - โอกาสสร้างมิตรใหม่ - โอกาสใกล้ชิด “ผู้รู้” “กูรู” - โอกาสที่จะได้ประสบการณ์ใหม่ ๆ “โอกาส” คือ ความต้องการของมนุษย์ทุกคน บางคนมี “โอกาส” แต่ไม่ใช้ “โอกาส” ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
การเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย Learn how to learn Learn how to think (คิดเป็น) Learn how to live with others Learn how to manage the emotion Learn how to make you good healthy lifestyle
ประเด็นการเรียนรู้ IQ (Intelligence) EQ (Emotional) AQ (Adversity) MQ (Moral) SQ (Spiritual) HQ (Health) ประเด็นการเรียนรู้ สำหรับชีวิต 4 ปี ใน ม.เกษตรศาสตร์
ข้อคิด : ดร.เสรี พงศ์พิศ ถ้าเราคิดว่า จะเรียนหนังสือเพื่อจะได้รู้สิ่งที่คนอื่น เขาคิด เขาสอน เขาทำกันมา แค่ท่องหนังสือเก่งก็พอแล้ว แต่วันนี้มันไม่พอ โลกวันนี้เป็นโลกของความรู้ และไม่ใช่ความรู้เก่า ๆ เดิม ๆ แต่เป็นความรู้ที่ทุกคนต้องแสวงหา ค้นหาและพัฒนาขึ้นมาใหม่ให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ และความต้องการของแต่ละคน
4 ปีในรั้วมหาวิทยาลัย ต้องทำให้ตนเองเปลี่ยนแปลง เพื่อการมีอนาคตที่ดีสู่ชีวิต
ก้าวเดินของบัณฑิตยุคใหม่ นิสิตปี 1 : ก้าวแรกเพื่อการปรับตัวสู่การเป็น นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นิสิตปี 2 : ก้าวย่างเพื่อการปรับตัวสู่วิชาชีพ นิสิตปี 3 : ก้าวสู่เส้นทางนักวิชาชีพ นิสิตปี 4 : ก้าวสู่ความเป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ก้าวเดินของบัณฑิตยุคใหม่ : นิสิตปี 1 ปรับตัวจากชีวิตนักเรียน สู่ ความเป็นนิสิต - บริหารเวลา - การใช้ชีวิตการเรียนรู้ - พัฒนาทักษะการเรียนรู้ จิตวิญญาณความเป็นนิสิต มก. มีเป้าหมายการเรียน / วางแผนการก้าวเดิน ภาวะผู้นำ : เรียนรู้การเป็นผู้ตามที่ดี คุณธรรม : สามัคคี มีวินัย
ก้าวเดินของบัณฑิตยุคใหม่ : นิสิตปี 2 ก้าวย่างเพื่อการปรับตัวสู่วิชาชีพ รู้ตนเอง : เป้าหมายการเรียนบนเส้นทางอาชีพ พัฒนาทักษะการเรียนบนเส้นทางสายวิชาเอก ภาวะผู้นำ : การเป็นรุ่นพี่ที่ดี คุณธรรม : การให้ การเสียสละ
ก้าวเดินของบัณฑิตยุคใหม่ : นิสิตปี 3 รู้ตนเอง : ตนเองบนเส้นทางนักวิชาชีพ - ภาพตนเองแจ่มชัดขึ้น - Career Path - Self Preparation บุคลิกภาพบนเส้นทางวิชาชีพ - พัฒนาภาวะผู้นำ : บุคลิกภาพ / การคิด / EQ การบริหารจัดการองค์กร / โครงการ คุณธรรม : จรรยาบรรณวิชาชีพ ซึมซับ “คุณภาพ”
ก้าวเดินของบัณฑิตยุคใหม่ : นิสิตปี 4 รู้ตนเอง : รู้เอกลักษณ์แห่งตน (Identity) เพียบพร้อมความเป็นบัณฑิต - ความรู้ ความสามารถ - ความคิด - บุคลิกภาพ - จิตสำนึก / อุดมการณ์ รู้คุณค่าความเป็นบัณฑิต รู้เตรียมพร้อมสู่โลกการทำงานแห่งอนาคต (ก้าวเดินที่มีทิศทาง)
บุคคลประสบความสำเร็จ 6 Qs (Six Quotients) IQ (Intelligence) EQ (Emotional) AQ (Adversity) MQ (Moral) SQ (Spiritual) HQ (Health)
คุณเจริญ สิริวัฒนภักดี ประธานบริหาร บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำกัด คุณเจริญ สิริวัฒนภักดี ประธานบริหาร บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำกัด “ความสำเร็จของคน ไม่ได้เกิดจากสวรรค์ ไม่ได้เกิดจากโชคชะตา แต่เกิดจากการฝึกฝนอย่างจริงจังและสม่ำเสมอ”
คนประสบความสำเร็จในการเรียน มีเป้าหมายในการเรียน มีทักษะการเรียนรู้ มีสมาธิ รู้บริหารเวลา มีแรงจูงใจ มีวินัยในการเรียน
พรสวรรค์ที่ยิ่งใหญ่ สำหรับคนที่ประสบความสำเร็จ คือ ความสามารถที่จะทำให้ตนเอง ลงมือปฏิบัติตามสิ่งที่ตนคิดได้
ความสำเร็จของคนล่าฝัน เป้าหมายชัดเจน แรงจูงใจฝังลึก แสวงหาโอกาสให้ตนเองตลอดเวลา ความเพียรสูง ไม่โทษชะตาชีวิต พัฒนาตนเองต่อเนื่อง คิดเชิงบวก (ชอบร้องเพลงคงจะมีสักวัน)
สรุปแนวคิดในการจัดการชีวิต ต้องรู้จักและทำความเข้าใจกับตนเอง - จุดดี - จุดควรพัฒนา ต้องยอมรับให้ได้กับสภาวะที่ตนเองเป็นอยู่ จุดดี ที่มีอยู่ - ควรส่งเสริมให้เพิ่มขึ้น - หาเวที / โอกาส พัฒนาให้เพิ่มพูนขึ้น จุดควรพัฒนา - หาโอกาสพัฒนาให้ดีขึ้น
สรุปแนวคิดในการจัดการชีวิต ต้องรู้จักวางเป้าหมายให้ชีวิต ต้องเชื่อมั่นว่าตนเองทำได้ / มองแง่บวกเป็น ต้องมีวินัยในตนเอง ต้องมีสุขภาพที่ดี (สุขภาพกาย สุขภาพอารมณ์) สร้างสมดุลให้ชีวิต (ไม่มาก ไม่น้อย ไม่สุดโต่ง)
การจัดการชีวิต ไม่มีสูตรสำเร็จ ขึ้นอยู่กับสไตล์ของแต่ละคน แต่ละคนต้องหาความลงตัว ด้วยตัวของตนเอง
หัวใจของความสำเร็จ
ทัศนคติ x ความสามารถ x ความพยายาม ความสำเร็จ
The End