การใช้งาน Linux เบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
Advertisements

ปรับปรุงล่าสุด 13/10/55 โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
The Management of Distributed Transaction
Multi-Version Text Viewer / Editor COE Chaiwat Sookpanya : Kannawat Chaiyarajsamee :
Object Oriented Language ภาษาเชิงวัตถุ
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Lab Login แล้วดำเนินการดังต่อไปนี้ ที่ home directory สร้าง sub directory ชื่อ Lab01 พิมพ์คำสั่ง cd Lab01 พิมพ์คำสั่ง pwd แล้วกด Enter พิมพ์คำสั่ง.
1 ProQuest Nursing & Allied Health Source โดย ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรม การทำงานของโปรแกรม vi ชื่อไฟล์
1 ภวัต เรืองยิ่ง แผนก ฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส แก้ไขครั้งล่าสุด 11 May 2009.
Introduction to C Programming.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
ภาษาคอมพิวเตอร์.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
การใช้ Command Line Interface อ. ดร. ธรา อั่งสกุล.
Introduction to System Administration
Use Case Diagram.
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Unix: basic command.
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Theses โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร.
Operating System ฉ NASA 4.
SCC : Suthida Chaichomchuen
คู่มือสร้างบล็อก blog.spu.ac.th
RADIUS & TACACS.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
Introduction to C Language
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
ระบบข้อมูลการจัดที่ดิน
1. 2  ในการใช้งานเว็บไซต์ โดยปกติเราจะไม่สามารถ ใช้งานตัวแปรที่มีลักษณะ Global ที่สามารถ นำไปใช้ได้กับเว็บเพจหน้าอื่นๆ ปกติในการใช้ งานค่าต่างๆ ของเว็บเพจ.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Chapter 3 Set a Server by Linux.
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
รายละเอียดของ Print Screen หน้าจอสังเกตการณ์ ของคณะกรรมการประกวดราคา (โปรแกรม CAT e-auction โลโก้ใหม่)
Solaris 10.
ProQuest Nursing & Allied Health Source
Tips and Tools MS Excel By คนควน.
พื้นฐานการใช้งาน Microsoft Word 2007
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การใช้งานระบบจัดการฐานข้อมูล Mysql ผ่าน phpmyadmin
E-Sarabun.
บทที่ 3 การจ่ายงาน (Process Management).
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ User
“Disk Operating System”
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
ระบบฐานข้อมูลการดำเนินงานกิจกรรมสาธารณสุข
การสร้างพจนานุกรม.
เฉลิมชัย ประเทืองรัตน์ อาจารย์ประจำหมวด คอมพิวเตอร์ วุฒิทางการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
นาย ปวเรศ ชาวเวียง รหัสนิสิต
และการทำงานกับตัวอักษร
หน้าจอการสืบค้น (OPAC)
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
1 Functions กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
1 Introduction to SQL กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
บทที่ 11 ระบบปฏิบัติการ Linux T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
การจัดการไฟล์ File Management.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้งาน Linux เบื้องต้น

Introduction ทำงานเป็นระบบ Multi-User Multi-Tasking

ความหมายเบื้องต้น Account Name (Login name) Password (passwd) Directory , Files Home directory Logout Administrator (Root)

คำสั่งเบื้องต้น คำสั่งบนระบบยูนิกส์ มีลักษณะเป็น Case Sensitive ตรวจสอบผู้ที่กำลังใช้งานในระบบ finger เปลี่ยน รายละเอียดของผู้ใช้งาน chfn เปลี่ยนรหัสผ่าน passwd

คำสั่งเบื้องต้น ออกจากระบบ (logout, Ctrl+d, exit) คำสั่ง cat cat > filename เป็นการสร้างแฟ้มข้อมูล cat filename การดูข้อมูลภายในแฟ้มข้อมูล การเรียกดูรายชื่อแฟ้มข้อมูล ls, ls –l, ls –a, ls –la การใช้อักขระพิเศษ * แทนตัวอักษรหลายตัว ? แทนตัวอักษรตัวเดียว [cset] แทนตัวอักษรตัวเดียวที่ระบุไว้ในวงเล็บ

ประเภทของไฟล์บนลินุกซ์ Regular file Directory file Special file Link file การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล (copy) cp แฟ้มต้นฉบับ แฟ้มใหม่ การเปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล (move, rename) mv ชื่อแฟ้มเก่า ชื่อแฟ้มใหม่

การลบแฟ้มข้อมูล (remove) ** ชื่อแฟ้มข้อมูล เป็นลักษณะ Case Sensitive rm ชื่อแฟ้ม (ชื่อแฟ้ม ...) ** ชื่อแฟ้มข้อมูล เป็นลักษณะ Case Sensitive คำสั่งสร้าง directory mkdir ชื่อ directory คำสั่งลบ directory rmdir ชื่อ directory คำสั่งเปลี่ยน directory cd ชื่อ directory

เครื่องหมาย directory คำสั่งสำหรับเปลี่ยนสิทธิ์ chmod . , .. , ~ คำสั่งสำหรับเปลี่ยนสิทธิ์ chmod [u,g,o,a], [+,-], [r,w,x] คำสั่งดูวันเวลาของระบบ date, cal ตรวจสอบ Directory ปัจจุบัน pwd ตรวจสอบ Logon ปัจจุบัน whoami ดูวิธีการใช้งานคำสั่ง man

กระบวนการควบคุม init Level 0 หยุดการทำงาน (Halt) หรือการ ปิดเครื่อง Level 1 Single user mode Level S,s Single user mode ใช้ซ่อมแซม หรือแก้ไขข้อผิดพลาด Level 2 Mutiuser mode / non networking

กระบวนการควบคุม init Level 3 Full multiuser mode / non X- window Level 5 Default, Full multiuser mode / X-window Level 6 reboot

กระบวนการควบคุม init สคริปไฟล์ เก็บไว้ที่ /etc/rc.d/ การปิดระบบ K = kill process S = start process การปิดระบบ shutdown -a ใช้ /usr/chutdown.allow -k ยังไม่ต้องการปิด แต่จะส่งข้อความไปเตือน user -r หลังจากปิดเครื่องแล้ว ให้รีบูตเครื่องใหม่ทันที -h การปิดระบบแบบหยุดนิ่ง (halt)

กระบวนการควบคุม init -f เป็นการรีบูตแบบ fastboot / non fsck -F เป็นการรีบูตใหม่ และทำการ fsck -n ปิดเครื่องแบบรวดเร็ว ไม่ผ่านกระบวนการ init -c ยกเลิกการปิดระบบทั้งหมด -t sesc กำหนดระยะเวลาการปิดเป็นแบบวินาที Time เป็นเวลาในการปิดระบบ กำหนดได้ 2 แบบ hh:mm หรือ +m Warning message ส่งข้อความเตือน

ขั้นตอนการบูตของลินุกซ์ shutdown [-akrhfnc] [-t secs] time [waring message] shutdown –h now “System will shutting down now” shutdown –h +5 “System will shutting down within 5 minute” shutdown –r +9 “System will reboot within 9 minute”

การจัดการบัญชีผู้ใช้

ไฟล์ที่เกี่ยวข้อง /etc/passwd เก็บข้อมูลพื้นฐานของแต่ละ user /etc/shadow เก็บรหัสผ่านของ user แต่ละคน /etc/group เก็บรายชื่อกลุ่ม การเพิ่มบัญชีรายชื่อ useradd [-p passwd] [-u uid] [-g initial_group] [-G group[,…]] [-c comment] [-d home_dir] [-s shell] [-e expire_date] account

คำสั่งจัดการบัญชีรายชื่อ การเพิ่มกลุ่ม groupadd [-g gid] group groupadd –g 601 marketting useradd –u 901 –g marketting –c “Somsak Rakthai” –d /home/901 somsak

คำสั่งจัดการบัญชีรายชื่อ การกำหนดรหัสผ่าน passwd somsak การขอใช้สิทธิ์ของ user su - somsak การลบ user userdel [-r] account การลบกลุ่ม groupdel group_name

คำสั่งจัดการบัญชีรายชื่อ การแก้ไขข้อมูล user usermod [-l login_name] [-p passwd] [-g initial_group] [-G group[,…]] [-c comment] [-d home_dir] [-s shell] [-e expire_date] [-L | -U] account usermod –l user912 pisit usermod –g marketting user912 usermod –U user912

คำสั่งจัดการบัญชีรายชื่อ การจัดการ user ด้วย editor ใช้ vi เข้าไปแก้ไข /etc/passwd ทำการ update /etc/shadow ด้วยคำสั่ง pwconv หากต้องการลบ home directory ใช้คำสั่ง rm –rf /home/user_id

แพ็คเกจ กลุ่มโปรแกรม หรือ application ที่ถูกรวมเป็นไฟล์เดียว เพื่อให้ง่ายต่อการติดตั้ง รูปแบบของแพ็คเกจ .tar, .zip, .gz, .tar.gz คำสั่งที่ใช้ในการจัดการ แพ็คเกจ rpm (redhat package management) rpm –q (ใช้ในการค้นหา package) rpm –i (ใช้ในการติดตั้ง package) rpm –U (ใช้ในการ Upgrade package) rpm –e (ใช้ในการลบ package)

คำสั่งอื่น ๆ ที่จำเป็น การค้นหาแฟ้มข้อมูล find / -name [file name] คำสั่งตรวจสอบโปรเซส ps, top คำสั่งสำหรับลบโปรเซส kill คำสั่งสำหรับเริ่ม / หยุด services services [service_name] [start/stop/status]

การใช้งาน C compiler Package ขออง C compiler คือ gcc.xxx.xxx การติดตั้ง / ทดสอบการติดตั้ง โดยการใช้ rpm สร้าง Code ภาษา C ด้วยการใช้งาน vi Compile Code ด้วยคำสั่ง gcc filename.c ผลลัพธ์จะชื่อ a.out Run program โดยการใช้คำสั่ง ./a.out

การใช้งาน vi vi คือโปรแกรม Text Editor บนระบบปฏิบัติการ UNIX แฟ้มข้อมูลที่เก็บรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับเครื่อง (Configuration Files) จะเก็บเป็น Text File สามารแก้ไขปรับปรุงได้ง่าย ด้วยการใช้งานโปรแกรมประเภท Text Editor

การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรมใช้งาน Mode การทำงานของ vi vi filename Insert Mode Command Mode Last Line Mode

การใช้งาน vi คำสั่งของ vi i เพิ่มข้อความที่ตำแหน่งของเคอร์เซอร์ a เพิ่มข้อความที่ตำแหน่งหลังเคอร์เซอร์ A เพิ่มข้อความท้ายบรรทัด ตำแหน่งของเคอร์เซอร์ o เพิ่มบรรทัดใหม่ ใต้บรรทัดของเคอร์เซอร์ O เพิ่มบรรทัดใหม่ บนบรรทัดของเคอร์เซอร์

การใช้งาน vi คำสั่งของ vi x ลบตัวอักษร 1 ตัว ที่ตำแหน่งหลังเคอร์เซอร์ nx ลบตัวอักษร n ตัว ที่ตำแหน่งหลังเคอร์เซอร์ dd ลบข้อความทั้งบรรทัดที่ตำแหน่งของเคอร์เซอร์ ndd ลบข้อความทั้งบรรทัดที่ตำแหน่งของเคอร์เซอร์ เป็นจำนวน n บรรทัด

การใช้งาน vi คำสั่งของ vi D ลบข้อความ ณ.ตำแหน่งของเคอร์เซอร์จนถึง ปลายบรรทัด yy คัดลอกบรรทัดปัจจุบัน nyy คัดลอกจำนวน n บรรทัด ตั้งแต่บรรทัดปัจจุบัน p วางข้อความที่ทำการคัดลอก

การใช้งาน vi คำสั่งของ vi u ยกเลิกการทำงานครั้งล่าสุด :wq เป็นการบันทึกไฟล์ที่แก้ไข แล้วออกจาก vi :w เป็นการบันทึกไฟล์ที่แก้ไข แต่ไม่ออกจาก vi :q! ออกจาก vi โดยไม่บรรทึกข้อมูล

การใช้งาน vi คำสั่งของ vi :r อ่านไฟล์ขึ้นมาเพิ่มเติมในตำแหน่งปัจจุบัน :e เปิดไฟล์ขึ้นมาแก้ไข / ค้นหาคำที่ต้องการ :%s/oldtext/newtext เปลี่ยนข้อความจากข้อความเดิม เป็นข้อความใหม่ทั้งแฟ้มข้อมูล

การใช้งาน vi คำสั่งของ vi :n ไปยังบรรทัดที่ n ^ ไปต้นบรรทัด ^ ไปต้นบรรทัด $ ไปท้ายบรรทัด w,b เลื่อนเคอร์เซอร์ทีละคำ ด้านหน้า / ด้านหลัง :!command การใช้งานคำสั่งของลินุกซ์