Graphic Design for Video

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

รูปแบบของ Windows Movie Maker
“ เทคนิคการนำเสนอโครงงาน ” (ด้วยวาจา)
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
เรื่อง น้ำหนัก, แสง-เงา โดย สุภา จารุภูมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
เรื่อง องค์ประกอบศิลป์ โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทัศนธาตุคือหัวใจ เป็นบันไดสร้างทัศนศิลป์
สิ่งพิมพ์ จัดทำเพื่อผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม (ภายในหรือภายนอกองค์กร)
COMPOSITION องค์ประกอบศิลป์.
นายชูเกียรติ เมืองกรุง ครู โรงเรียนเทศบาล ๓ (หล่ายอิงราษฏร์บำรุง)
สื่อประกอบการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
General Purpose TV Interfacing Module
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง STORYBOARD ภาพรวม
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
การพัฒนาเว็บ.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (CAI)
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 4 องค์ประกอบศิลป์.
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
CONTRAST- EMPHASIS.
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
โปรแกรม DeskTopAuthor
การออกแบบสื่อสำหรับการนำเสนอ
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การจัดองค์ประกอบภาพ.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
แผนผังแสดงองค์ประกอบของศิลปะ
Background / Story Board / Character
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY)
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปของการการจัดสวน
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
การนำเสนองานด้วย PowerPoint อย่างมีประสิทธิภาพ
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Graphic Design for Video การออกแบบกราฟิกสำหรับงานวิดีโอ โดย; วรพจน์ นวลสกุล นักวิชาการโสตทัศนศึกษา ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา

Graphic Design for Video การจัดองค์ประกอบศิลป์ หมายถึง การนำทัศนธาตุ ได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี พื้นผิว แสง-เงา ช่องว่าง มาประกอบกันเป็นเรื่องราว ให้เกิดความหมาย ทางการรับรู้ผ่านทางสายตา สำหรับงานวิดีโอ จะมีเรื่องของความต่อเนื่อง continuing ความเคลื่อนไหว movement และเสียง sound เข้ามาเพิ่มทำให้เกิดความหมายทางการรับรู้ผ่านทางสายตาและหูพร้อมกัน

Graphic Design for Video การจัดองค์ประกอบศิลป์ในงานวิดีโอ เกี่ยวข้องกับ ตำแหน่งในการจัดวางหรือการนำเสนอ บนหน้าจอ TV หรือ Monitors การจัดส่วนประกอบหลัก และส่วนประกอบเสริมต่างๆ ของภาพที่จะนำเสนอ รวมทั้งตัวอักษรและเสียง การปรากฏขึ้นของวัตถุ ทิศทางการเคลื่อนที่ เคลื่อนไหว

Graphic Design for Video การจัดองค์ประกอบศิลป์ มีหลักที่ควรคำนึง 5 ประการ คือ 1. สัดส่วน (Proportion)  2. ความสมดุล (Balance)  3. จังหวะลีลา (Rhythm) 4. จุดเน้น (Dominance) 5. เอกภาพ (Unity)

สัดส่วน (Proportion) คือ ความสัมพันธ์อย่างเหมาะสมระหว่าง ขนาดของส่วนประกอบที่แตกต่างกัน ทั้งขนาดที่อยู่ในรูปทรง เดียวกันหรือระหว่างรูปทรงที่ต่างกัน รวมถึงความสัมพันธ์กลมกลืน ระหว่างองค์ประกอบทั้งหลายด้วย ซึ่งเป็นความพอเหมาะพอดี ไม่มาก-ไม่น้อย ของส่วนประกอบต่างๆ ที่นำมาจัดรวมกัน

ความสมดุล (Balance) คือ การจัดลักษณะของภาพให้เกิดความพอดี ให้เกิดน้ำหนักสองข้างเท่ากัน แบ่งเป็น สองกลุ่ม คือ แบบสองข้างเท่ากัน (Symmetrical) โดยนำส่วนประกอบภาพ สองข้างให้เท่ากัน แบบสองข้างไม่เท่ากัน (Asymmetrical) โดยนำส่วนประกอบ ภาพมาจัดวาง โดยไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน แต่ดูแล้วรู้สึกสมดุลกัน

การจัดภาพสมดุล Your subtopic goes here แบบสองข้างเท่ากัน แบบสองข้างไม่เท่ากัน

จังหวะ (Rhythm) คือระยะในการจัดวางภาพ,วัตถุ ช่วยทำให้เกิด ความรู้สึกและอารมณ์ในภาพ ช่วยให้เกิดช่องไฟและความสมดุล

จุดเน้นหรือจุดเด่น (Dominance) คือส่วนสำคัญของภาพที่ต้องการแสดง ไม่จำเป็นต้องอยู่ตรงกลาง เพราะให้ความรู้สึกนิ่งเกินไป ควรวางไว้ในระยะหน้าหรือกลาง และใช้การเน้นช่วย

เอกภาพ (Unit) คือ การรวมกันเป็นกลุ่มก้อน ไม่กระจัดกระจาย ไปคนละทิศทาง และเป็นส่วนที่แสดงเนื้อหาเรื่องราวอย่างชัดเจนด้วย การสร้างเอกภาพทำโดยวิธี ทับซ้อนและจัดกลุ่ม เพื่อให้รู้สึก เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

ความกลมกลืนและความขัดแย้ง (Harmony & Contrast) ภาพที่งดงามจะต้องมีความกลมกลืนและนำเสนอเรื่องราวได้ดี ไม่ขัดตา อาจใช้หลักต่างๆ เช่น กลมกลืนด้วยสี รูปร่าง รูปทรง เส้น ฯ แต่ถ้ากลมกลืนมากอาจรู้สึกน่าเบื่อไม่ตื่นเต้น จึงมักใช้ความขัดแย้ง มาช่วยในงานสนุกขึ้น โดยอัตราส่วน 80:20 เช่น

บทสรุป วีดิทัศน์หรือวิดีโอ เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพและทรงอิทธิพล ต่อผู้ชมรายการทุกเพศทุกวัย เนื่องจากสามารถนำเสนอภาพ ที่เคลื่อนไหวและเสียงที่สมจริง อีกทั้งยังสามารถใส่ตัวอักษร รูปภาพ กราฟิกและเทคนิคพิเศษต่างๆ ได้มากมาย ผู้ผลิตรายการจำเป็นต้องคำนึงถึงหลักการต่างๆ ดังกล่าว เป็นพื้นฐาน แล้วจึงนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด Your subtopic goes here ด้วยความปรารถนาดี

ตัวอย่างงาน/ซักถาม