โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
ห้องประชุม โรงเรียนเทศบาล 7 ฝั่งหมิ่น
โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
ผลการปฏิบัติงานตามคำรับรองการปฏิบัติงานของ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
นักศึกษาสาขาวิชา นโยบายสาธารณะ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ระหว่างวันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้มาตรการ เศรษฐศาสตร์เพื่อคงคุณค่าระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ Enhancing the Economics of Biodiversity and Ecosystems.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล ในการจัดการเมืองสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Partnership for Democratic Local Governance in Southeast-Asia) DELGOSEA สนับสนุนโดย สหภาพยุโรป (European Union) ดำเนินการโดย Konrad Adenauer Stiftung (KAS) สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI)

รายละเอียดโครงการ ผู้สนับสนุน : สหภาพยุโรป (European Union) ภายใต้โปรแกรม Non-State Actors (NSA) and Local Authorities in Development Actions in Partner Countries ระยะเวลาโครงการ : 30 เดือน เริ่มมีนาคม 2553 – สิงหาคม 2555 พื้นที่ดำเนินโครงการ : ฟิลิปปินส์ ไทย อินโดนีเซีย กัมพูชา และเวียดนาม กลุ่มเป้าหมาย : สมาคมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, ผู้บริหารท้องถิ่น, ข้าราชการส่วนท้องถิ่น, ผู้แทนภาคประชาสังคม, นักวิชาการ, สื่อมวลชน, และผู้แทนจากหน่วยงานระดับประเทศ

โครงสร้างของโครงการ - หน่วยงานร่วมดำเนินการ คณะกรรมการกำกับโครงการ (Steering Committee) (ผู้อำนวยการโครงการของ KAS และผู้อำนวยการโครงการของแต่ละประเทศ) เวียดนาม (UCLG-ASPAC/ ACVN) ฟิลิปปินส์ (LOGODEF) กัมพูชา (UCLG-ASPAC/ NLC/S) สำนักงานโครงการ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ไทย (TEI+MLT) อินโดนีเซีย (UCLG-ASPAC)

วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ อปท. และสมาคมสันนิบาตเทศบาลในการจัดการเมืองและสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ตัวอย่างการพัฒนาเมืองที่ดี ของ อปท. ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อสร้างเครือข่ายการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนระหว่างหน่วยงานต่างๆ ได้แก่อปท. องค์กรพัฒนาเอกชน สมาคมสันนิบาตเทศบาล และสถาบันการศึกษา โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเมืองนั้น โดยส่งเสริมการพัฒนาเมืองโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการบ้านเมือง

ประเด็นของตัวอย่างที่ดี (Best Practices) 1) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวางแผนและตัดสินใจ 2) การบริหารจัดการองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล 3) การจัดบริการสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม 4) การจัดการการเงินการคลัง และการส่งเสริมการลงทุนเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของเมือง

ผลที่คาดว่าจะได้รับ มี “ตัวอย่างที่ดี” ในการจัดการและพัฒนาเมืองใน 4 ประเด็น ใน 5 ประเทศ บุคลากรของสมาคมอปท. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพื่อเป็นหน่วยงานสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเมืองตามหลักธรรมาภิบาลแก่ อปท. มีการเผยแพร่และขยายผล “ตัวอย่างที่ดี” ในระดับภูมิภาคเอเซียตะวันนอเฉียงใต้ เกิดเครือข่าย อปท. และหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเข้ามาสนับสนุนส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลใน 4 ประเด็นแก่ อปท. มากกว่าที่เป็นอยู่

แผนการดำเนินงาน ปีที่ 1 (เดือน 1-12) การคัดเลือกตัวอย่างที่ดีและ อปท.นำร่องที่จะมาถอดแบบ - การคัดเลือกตัวอย่างที่ดี (27 ตัวอย่าง) และอปท.นำร่อง (20 เทศบาล) - การคัดเลือกให้เหลือ 16 ตัวอย่างที่ดี และจัดทำเอกสารโดยละเอียด - จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมวิทยากรพี่เลี้ยงที่มาจาก สมาคม อปท.ของแต่ละประเทศ - ฝึกอบรมวิทยากรเพื่อเป็นพี่เลี้ยงแก่เทศบาลนำร่อง ปีที่ 2 (เดือน 13-24) การนำเอาตัวอย่างทีดีไปปฏิบัติและติดตามประเมินผล - เทศบาลนำร่องจัดทำกรอบแนวคิดโครงการถอดแบบตัวอย่างที่ดีไปสู่การปฏิบัติ - ฝึกอบรมสร้างศักยภาพแก่เทศบาลนำร่องเพื่อการนำตัวอย่างที่ดีสู่การปฏิบัติ - ศึกษาดูงานจากเมืองตัวอย่างที่ดีโดยเทศบาลนำร่อง - ติดตามประเมินผลกลางปี ปีที่ 3 (เดือน 25-30) การติดตามประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินการ - สรุปบทเรียน ปัญหาและอุปสรรค ฯลฯ เพื่อนำมาปรับปรุงการดำเนินโครงการ - การผลักดันเข้าสู่หน่วยงานในระดับนโยบาย (national dialogue)

16 ตัวอย่างที่ดีจาก 5 ประเทศ ประเด็น เทศบาล 1. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวางแผนและตัดสินใจ เทศบาลเล็กในเทศบาลใหญ่และสภาเมือง (ทน.ขอนแก่น ประเทศไทย) การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการปรับปรุงย่านที่อยู่อาศัยเก่าแก่ (เมืองวินห์ ประเทศเวียดนาม) การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานโดยความร่วมมือของรัฐ-ราษฎร์-เอกชน (Toul Sangke ประเทศกัมพูชา)

16 ตัวอย่างที่ดีจาก 5 ประเทศ ประเด็น เทศบาล 2. การบริหารจัดการในองค์กรตามหลัก ธรรมาภิบาล การปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชนโดยใช้ E-Government (เมืองย๊อกยากาตาร์ ประเทศอินโดนีเซีย) ความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาเมือง (Kartarmantul Regency ประเทศอินโดนีเซีย) ธรรมาภิบาลในการจัดการสุขภาวะระดับชุมชน (เทศบาลตำบลปริก ประเทศไทย) การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาเมือง (จังหวัดกิวมารัส ประเทศฟิลิปปินส์) นวตกรรมการจัดการองค์กรสาธารณะ (เมืองลังซอนประเทศเวียดนาม) การบริการแบบ One Window Service (เมืองพระตะบอง ประเทศกัมพูชา)

16 ตัวอย่างที่ดีจาก 5 ประเทศ ประเด็น เทศบาล 3. การจัดบริการสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการน้ำเสียแบบบึงประดิษฐ์ (เทศบาลนครอุดรธานี ประเทศไทย) เมืองคาร์บอนต่ำ (เทศบาลตำบลเมืองแกลง ประเทศไทย) ออมทรัพย์สีเขียว (เมืองมาริกิน่าประเทศฟิลิปปินส์) สภาเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการภัยพิบัติ (เมืองโอลองกาโป ประเทศฟิลิปปินส์)

16 ตัวอย่างที่ดีจาก 5 ประเทศ ประเด็น เทศบาล 4. การจัดการการเงินการคลังและการลงทุนเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเมือง การโยกย้ายและพัฒนากลุ่มผู้ค้าริมถนน (เมืองโซโล ประเทศอินโดนีเซีย) การอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองเก่าภูเก็ตเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (เทศบาลนครภูเก็ต ประเทศไทย) โครงการจัดการและส่งเสริมการเพาะเลี้ยงชายฝั่ง (เทศบาลทูบิกอน ประเทศฟิลิปปินส์)

เกณฑ์การคัดเลือกอปท.นำร่องเพื่อถอดแบบตัวอย่างที่ดีสู่การปฏิบัติ มีประสบการณ์ในการดำเนินงานในประเด็นนั้นๆ อย่างน้อย 4 ปี มีประชากรไม่ต่ำกว่า 20,000 คน บุคลากรมีศักยภาพและความพร้อม เป็นอปท. ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในประเทศ ผู้บริหาร (นายกเทศมนตรี หรือข้าราชการประจำ) มีความเข้มแข็ง และมีความต้องการที่จะปรับปรุงงานที่ทำอยู่ เทศบาลต้องแสดงความประสงค์ และมีพันธกิจในการเข้าร่วมโครงการ มีความพร้อม ที่จะเข้าร่วมกิจกรรมตลอดระยะเวลาโครงการ และภายหลังโครงการเสร็จสิ้น สามารถเดินทางได้ง่าย และสะดวก ไม่มีความขัดแย้งทางการเมืองที่จะส่งผลต่อการดำเนินกิจกรรม/โครงการ

4 เทศบาลนำร่องในประเทศไทยและโครงการที่จะถอดแบบสู่การปฏิบัติ 4 เทศบาลนำร่องในประเทศไทยและโครงการที่จะถอดแบบสู่การปฏิบัติ เทศบาลนำร่อง ตัวอย่างที่ดีที่จะถอดแบบสู่การปฏิบัติ 1. เทศบาลนครปากเกร็ด 14 การโยกย้ายและพัฒนากลุ่มผู้ค้าริมถนน (เมืองโซโล ประเทศอินโดนีเซีย) 2. เทศบาลนครสงขลา การปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชนโดยใช้ E-Government (เมืองย๊อกยากาตาร์ ประเทศอินโดนีเซีย) 3. เทศบาลนครยะลา 8. นวตกรรมการจัดการองค์กรสาธารณะ (เมืองลังซอนประเทศเวียดนาม) 4. เทศบาลนครเชียงราย 5. ความร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนาเมือง (Kartarmantul Regency ประเทศ อินโดนีเซีย)