การบูรณาการงานสุขภาพจิต กับระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan)
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ระบบการส่งต่อและเชื่อมโยง ให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
โครงการสร้างความเข้มแข็ง การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
Service Plan 10 สาขา ๑) หัวใจและหลอดเลือด Ac. STEMI Ac.Cerebral Infaction ๒) ทารกแรกเกิด ๓) มะเร็ง ๔) อุบัติเหตุ ๕) ๕ สาขาหลัก( อายุรกรรม,ศัลยกรรม,ศัลยกรรมกระดูก,สูตินรีเวชกรรม,กุมารเวชกรรม)
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิตด้วยกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบูรณาการงานสุขภาพจิต กับระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) สุดา วงศ์สวัสดิ์

National Health Authority ระดับประเทศ National Health Authority Regulator Provider Purchaser สป. / กรมส่วนกลาง -สปสช. -สปช. -กรมบัญชีกลาง

ระดับเขต Regional level Regulator Provider Purchaser คปสข. อปสข.

ความเชื่อมโยงและกลไกการทำงานในเขตบริการสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงในระดับเขต 1 การกระจายอำนาจไปสู่ระดับเขต 2 บริหารทรัพยากรร่วม 3 บริการร่วมแบบไร้รอยต่อ 4 การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมต่าง ๆ รพศ./รพท./รพช./ รพสต. หน่วยงานวิชาการ คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ (Area Health Board) รพ. เอกชน รพ. มหาวิทยาลัย อปท. สนง.ประสานงานเขต สนง.เขตบริการสุขภาพ 1-12 รพ. สังกัดอื่น /มหาวิทยาลัย

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ระดับจังหวัด Provincial level สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด Regulator Provider Purchaser DHS (รพ.+สสอ.)

ตรวจสอบติดตามประเมินผล Provider Health Board (คปสจ.) อำเภอ DHS คปสอ. Regional Health Board Regulator ตรวจสอบติดตามประเมินผล ทีมคณะนิเทศจาก กสธ. สธน.เป็นประธาน RO กรมวิชาการ ร่วมทีม

จัดระบบบริการในระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ “เขตบริการสุขภาพ” : จัดบริการสำหรับประชาชน4-5 ล้านคน จัดเป็น 12 กลุ่มบริการ (4-3-3-2) พัฒนาปฐมภูมิสมบูรณ์แบบ ครอบคลุมพัฒนาทุติยภูมิที่สำคัญจำเป็นให้เบ็ดเสร็จในเขตบริการสุขภาพทุกระดับด้วยคุณภาพ มาตรฐาน จัดปัจจัยสนับสนุน คน เงิน ของ ที่เพียงพอพัฒนา ระบบบริหารจัดการ ภายใต้ คกก. พื้นที่ EC 1 Self Care 2 3 RS Seamless Service Management Self Contained UC Management Referral System Referral System Secondary Care Secondary Care Primary Care Primary Care www.themegallery.com

District health system : DHS ระบบสุขภาพอำเภอ District health system : DHS กระบวนการในการทำงานร่วมกันของเครือข่ายอย่างเป็นเอกภาพในแต่ละอำเภอ โดยส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการปรับปรุง การบริหารจัดการระบบบริการปฐมภูมิอย่างมีคุณภาพ และมีความสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพ ในพื้นที่ รวมทั้งลดการส่งต่อและลดความแออัดในสถานบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชน และชุมชนพึ่งพาตนเอง สามารถร่วมกันจัดการปัญหาโรคประจำถิ่นและภัยสุขภาพให้ลดลง

แนวคิดการทำงาน DHS การทำงานร่วมกันของรพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ประชาสังคม โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือ ทำให้ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน

วิธีการดำเนินงาน DHS เอกภาพของทีมสุขภาพระดับอำเภอ (Unity of District Health Team) การดูแลสุขภาพตนเอง (Self Care) บริการพื้นฐานที่จำเป็น (Essential Health Care) งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น, ทีมสุขภาพเป็นสุขและชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน การประเมินผลและเรียนรู้ตามบริบท www.themegallery.com

โครงสร้างระบบสุขภาพอำเภอ เครือข่ายภาคประชาสังคม ประธาน CEO : ผอ.รพช. หรือ สสอ. คปสอ. รพช.+ สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ เครือข่ายภาคประชาสังคม www.themegallery.com

Conceptual Framework of DHS Development 1.P&P 2.MCH 3.EMS 4.Acute Minor Diseases 5.Dental Health 6.Chronic Diseases 7.Psychiatric Diseases & Mental Health 8.Disabillities 9.End of life care 10.High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly ) Specialist Provincial Hospital Concept & Policy Structure & Organization Resources Allocation & Sharing Manpower Development Information System Supportive Mechanism New Management (Partnership & Networking) Unity District Health Teams (รพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ชุมชน) CBL Common Goal Common Action Common Learning Essential care Self Care SRM Action Research / R2R Service Plan Other Sectors Clinical Outcomes -Morbidity -Mortality -Quality of Life Psychosocial Outcome -Value -Satisfaction -Happiness

เป้าหมายของ กระทรวง10 สาขา บรรลุ KPI 10 สาขา นโยบาย สบรส. กรมต่างๆ 1. หัวใจและหลอดเลือด 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 7. 5 สาขา 6. ตาและไต 5. จิตเวช 4.ทารกแรกเกิด 3. อุบัติเหตุ 2. มะเร็ง 8. ทันตกรรม 10. NCD บรรลุ KPI 10 สาขา 1. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ระบบบริการ คุณภาพ Back Bone 2. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโยบาย สบรส. กรมต่างๆ นอก สธ. การ เมือง สนับ สนุน

DHS เครือข่ายระดับอำเภอ ศสม. รพสต. NCD หัวใจ ไต มะเร็ง อุบัติเหตุ เป้าหมายระบบสุขภาพอำเภอ สถานะสุขภาพ Self Care ทีมสุขภาพอำเภอเข้มแข็ง อุบัติเหตุ ทันตกรรม จิตเวช ฯลฯ

ประเด็นสุขภาพในแต่ละระดับ อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ออร์โธโปดิกส์ ทันตกรรม ตา ไต หมอครอบครัว โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ทารกแรกเกิด อุบัติเหตุ จิตเวช สูติกรรม ศัลยกรรม Service plan Chronic Diseases Psychiatric Diseases & Mental Health Disabillities End of life care High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly) P&P MCH EMS Acute Minor Diseases Dental Health Essential care สตรี เด็ก เยาวชน วัยแรงงาน สูงอายุ ผู้พิการ NCD อาหาร สิ่งแวดล้อม, สุขาภิบาล อาหาร Emerging disease ยุทธศาสตร์กระทรวง

เราจะบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้าไปในงานสุขภาพระดับอำเภอ อย่างไร

บูรณาการงานสุขภาพจิตชุมชน แผนการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่ ตามกลุ่มวัยภายใต้ แผนการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่

Well being กาย จิตวิญญาญ จิต สังคม

ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ประเด็นตาม Flagship & Service plan งานสุขภาพจิต ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต บูรณาการ(Integrate) DHS ประเด็นตาม Flagship & Service plan

ส่งเสริมสุขภาพจิต เพิ่มศักยภาพของบุคคลในการปรับตัวต่อการดำเนินชีวิต เพิ่มความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิต เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี

ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ค้นหากลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสุขภาพจิต ให้ความช่วยเหลือในกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโอกาส ในการเจ็บป่วย ดูแล รักษา ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตระยะเริ่มแรก ส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่มีความรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อนให้กับสถานบริการระดับตติยภูมิ

บทบาทของกรมสุขภาพจิตใน DHS กำหนดนโยบาย/มาตรการสำคัญของงานสุขภาพจิต กำหนดมาตรฐานการดำเนินงานสุขภาพจิต สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี เครื่องมือสุขภาพจิต สนับสนุนให้เกิดการวิเคราะห์เชื่อมโยงระหว่างประเด็นสุขภาพทางกายกับมาตรการทางสุขภาพจิต สนับสนุนทางวิชาการให้กับเครือข่ายในพื้นที่ กำกับ ติดตามการดำเนินงานสุขภาพจิต

Conceptual Framework of Mental Health to DHS Unity District Health Teams (รพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ชุมชน) Clinical Outcomes -Morbidity -Mortality -Quality of Life 1.P&P 2.MCH 3.EMS 4.Acute Minor Diseases 5.Dental Health 6.Chronic Diseases 7.Psychiatric Diseases & Mental Health 8.Disabillities 9.End of life care 10.High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly ) ส่งเสริมสุขภาพจิต ParticipationAnalyses & Intervention ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต Psychosocial Outcome -Value -Satisfaction -Happiness CBL Common Goal Common Action Common Learning

กระบวนการทำงาน เลือกประเด็นสุขภาพ ตามพื้นฐานของแต่อำเภอ คณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงาน DHS ของอำเภอ/ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตในพื้นที่/ศูนย์สุขภาพจิตร่วมวิเคราะห์ประชาชนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยตามประเด็นสุขภาพ สร้างการมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม มาตรการในการให้การดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนในประชาชนกลุ่มต่างๆ ประชาชนได้รับบริการครอบคลุมสุขภาพกายและจิตตามบริบทของพื้นที่จริง

อำเภอ A เลือกประเด็น โรคเรื้อรัง เป็นประเด็นสำคัญ ทุกภาคส่วนวิเคราะห์ หาผู้ที่จะได้รับผลกระทบทางสุขภาพจิตทั้งหมดจากโรคเรื้อรัง เช่น ผู้ป่วย ญาติผู้ดูแล ชุมชน แนวโน้มสุขภาพจิตของคนกลุ่มต่างๆ ออกแบบกิจกรรม/มาตรการในการดูแลสุขภาพจิต ผู้ป่วยเรื้อรัง/ญาติ/ชุมชน ควบคู่กับการดูแลทางกายเดิม ประชาชนในอำเภอ Aได้รับบริการครอบคลุมสุขภาพกายและจิตในประเด็นโรคเรื้อรัง

พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) กรมสุขภาพจิต บูรณาการตามกลุ่มวัย ตัวอย่าง: Pre-school -Capacity building -Intervention พม. อปท. แกนนำ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รพ.สต. โรงเรียน สสอ. รพช. ประเมินEQ ก่อน ประเมินEQ/IQ หลัง Intervention

สวัสดี 28