ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
Getting Started with e-Learning
E-Learning.
E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet)
:: eLearning คืออะไร ? ::
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2555
กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม
มองไม่เห็นก็เรียนได้
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
- ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน สามารถต่ออินเตอร์เน็ตได้
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction)
การสื่อสารข้อมูล.
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
ฝ่ายฝึกอบรมและพัฒนาสื่อสารสนเทศ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
สื่อการศึกษาร่วมสมัย
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
1). ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN)
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
E-Learning คืออะไร ? อะไรบ้างที่เป็น e-Learning คุณลักษณะของ e-Learning LMS : ระบบบริหารจัดการรายวิชาออนไลน์ การนำระบบ LMS ไปใช้งานในการเรียนการสอน.
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Introduction to Information and Communication Technology)
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อการเรียนการสอนที่เกิดจากวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการเรียนการสอนจะออกมาในลักษณะของสื่อประสม.
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บด้วย Moodle
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข การพัฒนาการสอนด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่
โครงการจัดสัมมนาวิชาการ
ในห้องเรียนออนไลน์ (Web-Based Instruction) บนระบบบริการ Moodle LMS
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
คำว่า e-Learning คือ การ เรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการ ถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำ ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ซอฟต์แวร์.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
การออกแบบและการประยุกต์ใช้ หลักสูตรเว็บออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกล On the Design and Application of an Online Web Course for Distance Learning.
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
โดยใช้โปรแกรม Macromedia flash 8
ADDIE Model.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ช่วยทำให้การ บริการสะดวกขึ้น.
Social Network.
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
ความหมายของนวัตกรรม “ นวัตกรรม ” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มา ก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงมาจาก ของเดิมที่มีอยู่แล้ว.
E-learning.
Social Media.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถ นำไปประยุกต์ในด้านต่างๆ เสนอโดย ด. ช. ปพนธีร์ สิทธิคณากูล ม.1/6 เลขที่ 12 ด. ช. ศุภกร พูลโภคะ ม.1/6 เลขที่ 11 ด.
จัดทำโดย ด. ช. อภิชาติ จินาการ ชั้นม.1/12 เลขที่ 9 ด. ช. สุวัชชัย มะโนทา ชั้นม.1/12 เลขที่ 14 นำเสนอ ครูอรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียน E-LEARNING

E-learning คืออะไร E-learning คืออะไร คำว่า e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบ ใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็น ต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะ หนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอน บนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่าน ออนไลน์ เป็นต้น           

ในปัจจุบัน คนส่วนใหญ่มักจะใช้คำว่า e-Learning กับการเรียน การ สอน หรือการอบรม ที่ใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Based Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมถึงเทคโนโลยีระบบการจัดการหลักสูตร (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนด้วยระบบ e-Learning นี้สามารถศึกษาเนื้อหาใน ลักษณะออนไลน์ หรือ จากแผ่นซีดี-รอม ก็ได้ และที่สำคัญอีกส่วนคือ เนื้อหาต่างๆ ของ e-Learning สามารถนำเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยี มัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)          

 คำว่า e-Learning นั้นมีคำที่ใช้ได้ใกล้เคียงกันอยู่หลายคำเช่น Distance Learning (การเรียนทางไกล) Computer based training (การฝึกอบรมโดยอาศัยคอมพิวเตอร์ หรือเรียกย่อๆว่า CBT) online learning (การเรียนทางอินเตอร์เนต) เป็นต้น ดังนั้น สรุป ได้ว่า ความหมายของ e-Learning คือ รูปแบบของการเรียนรู้ด้วย ตนเอง โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือสื่ออิเลคทรอนิกส์ใน การถ่ายทอดเรื่องราว และเนื้อหา โดยสามารถมีสื่อในการ นำเสนอบทเรียนได้ตั้งแต่ 1 สื่อขึ้นไป และการเรียนการสอนนั้น สามารถที่จะอยู่ในรูปของการสอนทางเดียว หรือการสอนแบบ ปฎิสัมพันธ์ได้

บทเรียน e-learning วิทยาลัยวลัยลักษณ์ของกองสุขศึกษา Health Education Division เรื่อง การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพแบบ offline

บทเรียน e-learning เรื่อง การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพแบบ offline

สมาชิกในกลุ่ม สาขาภาษาอังกฤษ ห้อง 1 1.นางสาวปรางทิพย์ สุริยนต์ เลขที่2 1.นางสาวปรางทิพย์ สุริยนต์ เลขที่2 2.นางสาวพัชณีกร สิงห์โต เลขที่25 3.นางสาวอมรรัตน์ ศรีภิรมย์ เลขที่ 26 4.นางสาวรัชนีวรรณ หารชะนะวงษา เลขที่43 5.นางสาวเจนจิรา วงษ์ดี เลขที่ 44 สาขาภาษาอังกฤษ ห้อง 1

ขอบคุณค่ะ