นโยบายด้านยาเสพติด 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 เป้าหมายพื้นที่ ( หมู่บ้าน ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ ฯลฯ )  เป้าหมายบุคคล ( ใคร เพศ อายุ อาชีพ ฯลฯ )  เป้าหมายตัวยา ( ชนิดยา / สารเสพ ติด ปริมาณ.
Advertisements

แผนปฏิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
แนวทางการดำเนินการ สร้างพลังสังคมและพลังชุมชน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2554 เวลา น
แผนที่ 1 แผนการ สร้าง พลังสังคม พลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด หมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมด 6,167 มบ./ชช. ประเภทเป้าห มาย ผลการ ดำเนินงา น ร้อย ละ 1. ม / ช ที่ระบุไม่มี
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
8. นโยบายรักษาความมั่นคงของรัฐ
นโยบาย สพฐ. ปี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
เป้าหมายและผลการดำเนินงานที่สำคัญ
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
วันพฤหัสบดี ที่ 3 ตุลาคม 2556 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
การบริหารราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ “ พลังแผ่นดิน เอาชนะยา เสพติด ” ปฏิบัติการวาระแห่งชาติ “ พลังแผ่นดิน เอาชนะยา เสพติด ”
นโยบายป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การรักษาความมั่นคงของรัฐ.
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ในการพัฒนาการศึกษา เน้น “ ความเท่าเทียมกัน ” และ การนำ “ เทคโนโลยี ” มาใช้ใน การจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน “ ที่มีคุณภาพ สำหรับเยาวชนทุกคน ทุกพื้นที่ ”
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
บั้งไฟโก้ สถานการณ์ และ การเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
โดย กลุ่มลูกพระนารายณ์ สถานการณ์ปัญหา ยาเสพติด จังหวัดลพบุรี
แผนยุทธศาสตร์ ไตรมาส ที่ 1 ไตรมาส ที่ 2 ไตรมาส ที่ 3 ไตรมาส ที่ 4 แผน 3 1. นักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 30% ทั่ว ประเทศได้มีการ เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ด้านยาเสพติด.
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรุปภพรวมการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด เรื่อง “ทบทวนสถานการณ์ปัญหายาเสพติดและผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะ.
แผนการสกัดกั้นยาเสพติด
ผังย่อปฏิบัติการ “ มหาดไทย CLEAN & SEAL ทำความดีเพื่อแผ่นดิน กวาดล้างให้สิ้นยาเสพติด ” ( ตุลาคม 2552 – กันยายน 2553) วิเคราะห์ประเมินผลปรับแผนปฏิบัติการ.
แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ
ระบบแผนปฏิบัติการฯ จังหวัด
ระบบเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดจังหวัดขอนแก่น
สรุปสถานการณ์จังหวัดปัตตานี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
โครงการมหกรรมกีฬาต้านยาเสพติด อบต.น้ำผุด คัพ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2551
เป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
โครงการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาทและโครงการพระราชดำริ (หลักสูตรกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) การมอบนโยบายกรมการปกครอง โดย นายกฤษฎา บุญราช อธิบดีกรมการปกครอง วันจันทร์ที่
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
การพัฒนาระบบริการการบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพยาเสพติดจังหวัดสิงห์บุรี
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติด และปราบปรามผู้มีอิทธิพล
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายด้านยาเสพติด 7 แผน 4 ปรับ 3 หลัก 6 เร่ง

นโยบายด้านยาเสพติด แผนที่ 1 แผนสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด แผนที่ 2 แผนการแก้ไขปัญหาผู้เสพผู้ติด แผนที่ 3 แผนป้องกันยาเสพติด แผนที่ 4 แผนปราบปรามยาเสพติด แผนที่ 5 แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ แผนที่ 6 แผนสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน แผนที่ 7 แผนบริหารจัดการแบบบูรณาการ

นโยบายด้านยาเสพติด ปรับที่ 1 ปรับปรุงข้อมูล การข่าวให้ถูกต้อง ทันสมัย ปรับที่ 2 ปรับบทบาท พฤติกรรม เจ้าหน้าที่ของรัฐ ปรับที่ 3 ปรับกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ ปรับที่ 4 ปรับทัศนคติของสังคมและชุมชนมีส่วนร่วม แก้ไขปัญหายาเสพติด

นโยบายด้านยาเสพติด หลักที่ 1 หลักการแก้ไขปัญหาโดยใช้หลักเมตตา ความรักในเพื่อนมนุษย์ หลักที่ 2 ยึดหลักนิติธรรม ใช้การบำบัด ป้องกัน ควบคู่การปราบปราม หลักที่ 3 หลักแก้ปัญหาโดยยึดพื้นที่เป็นตัวตั้ง

นโยบายด้านยาเสพติด เร่งที่ 1 เร่งดำเนินการในด้านข้อมูล ปัญหา เร่งที่ 2 เร่งลดจำนวนผู้เสพยาจากหมู่บ้าน/ชุมชน เร่งที่ 3 เร่งแสวงหาความร่วมมือกับต่างประเทศและ การสกัดกั้นยาเสพติด เร่งที่ 4 เร่งปราบปรามผู้ค้า ลดความเดือดร้อน ของประชาชนจากปัญหายาเสพติด เร่งที่ 5 เร่งแก้ไขปัญหาเยาวชนกลุ่มเสี่ยงทั้งในและ นอกสถานศึกษา เร่งที่ 6 เร่งสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนมห้มีความเข้มแข็ง

แผนที่ 3 แผนการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด (Potential Demand) มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้กับประชาชน เยาวชนทั่วไป เยาวชนกลุ่มเสี่ยงซึ่งจะเป็นการตัดการเพิ่มขึ้นของผู้เสพรายใหม่ โดยให้ความสำคัญในการป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษาทุกแห่ง รวมทั้งขจัดปัจจัยเสี่ยงที่เอื้อต่อปัญหายาเสพติดให้หมดไป สร้าง คุณภาพชีวิต ทัศนคติให้กับเยาวชนที่จะเป็นอนาคตของชาติไม่ให้ ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

1. เป้าหมาย 1.1 สร้างภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติดให้กับเยาวชนก่อนวัยเสี่ยง (อายุ 7-19 ปี) จำนวน 11,734,742 คน 1.2 ลดอัตราการเพิ่มของผู้เสพยาเสพติดรายใหม่ ไม่ให้เกิน20% จากสถิติบำบัดรักษาและสถิติจับกุมยาเสพติด 1.3 ลดปัจจัยเสี่ยงต่อปัญหายาเสพติดและพื้นที่เสี่ยง 6 ปัจจัย เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงก่อนปฏิบัติการฯ ในทุกจังหวัด 1.4 กำหนดสถานศึกษาในระดับประถมศึกษา (ขยายโอกาส) มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา สถานศึกษาเอกชน สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง เป็นเป้าหมายป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติดและลดปัญหาเสี่ยงที่เป็นเหตุแห่งปัญหายาเสพติด 1.5 กำหนดสถานประกอบการในพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดยาเสพติดรุนแรงเป็นเป้าหมายป้องกัน และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด

ป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติด เป้าหมาย สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติด ในสถานศึกษา เยาวชนก่อนวัยเสี่ยง (อายุ 7-19ปี) จำนวน 11,734,742 คน โรงเรียนขยายโอกาส โรงเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรียนสาธิต เยาวชนในสถานศึกษา 9,640,193 คน เยาวชนนอกสถานศึกษา 2,094,549 คน 8

เป้าหมาย สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด เยาวชนในสถานศึกษา 9,640,193 คน ป้องกันและเฝ้าระวังในสถานศึกษา ศธ./มท./วธ./กก./กทม. 11,316 แห่ง นร. ป.6 ทั้งประเทศ 807,438 คน - ศธ. : 9,959 แห่ง (สพฐ./สอศ./สช./รร.สาธิต) - กทม. : 105 แห่ง - กก. : 28 แห่ง - วธ. : 15 แห่ง - มท. : 1,209 แห่ง 30% ของ นร. ป.6 242,230 คน