จิตวิทยากับการทำงาน ด้านสุขภาพ ชายแดนใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินการของกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
ระบบHomeward& Rehabilation center
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การนำ การคิด แบบหญิงยุคใหม่
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การปฏิบัติตามนโยบาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
สกลนครโมเดล.
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จิตวิทยากับการทำงาน ด้านสุขภาพ ชายแดนใต้ โดย.. นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ (ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 8) วันที่ 21 กันยายน 2554 ณ โรงแรมลีการ์เด้นส์ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ผลรวมของอารมณ์,ความคิดและพฤติกรรม(ทำงาน) จิตวิทยา (การทำงาน) ภาพแห่งความสุข สุขภาพ ยากส์ วิกฤต จชต.

กรอบแนวทาง แผนพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ในส่วนภูมิภาค ปี 55-59 (เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 8) นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขต 8

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำหนด ทิศทางการพัฒนา และออบแบบระบบบริการ ให้มีขีดความสามารถที่จะรองรับความท้าทายในอนาคต 2. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการเป็นเครือข่าย ให้สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว 3. ริเริ่มการขยายสถานบริการที่จำเป็น ปรับปรุง/เสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการ ให้เป็นไปตามแผน

กรอบแนวคิด 1. Seamless Health Service Networks ความจำเป็นของการจัดบริการในรูปเครือข่าย ที่เชื่อมโยงทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ 2. Self-contained Provincial Networks เป็นเครือข่ายบริการที่รองรับการส่งต่อ ตามมาตรฐานระดับจังหวัด อย่างสมบูรณ์ 3. Referral Cascade Management ส่งต่อผู้ป่วย 3 ระดับ (ต้น กลาง สูง)

เครือข่ายบริการระดับจังหวัด Referral Level Advance รพศ. High level รพท. Standard รพท.ขนาดเล็ก M1 Mid level รพช.ขนาดใหญ่ M2 First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-2 เครือข่ายบริการระดับจังหวัด

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 3 Key Strategic Areas 2. โครงสร้างใหม่ ตามภารกิจของสถานบริการภายในเครือข่าย 3. การบริหารจัดการเครือข่ายบริการ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ 3 Key Strategic Areas (KSAs) KSA 1 การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองและตำบล ที่มีประชากรหนาแน่น การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 3 ระดับ KSA 2 KSA 3 การพัฒนา รพ.ระดับต่างๆ โดยเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย ให้เติบโตอย่างมีทิศทาง ภารกิจชัดเจน จังหวะก้าว เกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี 2. ปรับโครงสร้างใหม่ ตามภารกิจของสถานบริการภายในเครือข่าย เป้าหมาย ศูนย์การแพทย์ชุมชนเมืองและรพ.สต.ที่รับผิดชอบประชาการหนาแน่น 100 % KSA 1 50 % KSA 2 ศูนย์เชี่ยวชาญระดับสูง 4 สาขา 50 % KSA 3 ยกระดับ รพ. ให้สูงขึ้น

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 1 ศูนย์การแพทย์ชุมชนเมือง (ศพม.) เป้าหมาย ร้อยละ 100 1.1 จัดตั้ง ศพม. ดูแลประชากรเขตเมือง ไม่เกินแห่งละ 30,000 คน - รพศ. ละ ๓ แห่ง (รพศ.หาดใหญ่ รพศ.ยะลา) - รพท. ละ ๒ แห่ง (รพท. ๖ แห่ง) เป้าหมาย รวม ๑๘ แห่ง ในเขต ๘ 1.2 ภารกิจดูแลสุขภาพ Holistic, Integrative, Comprehensive 1.3 รูปแบบหลากหลาย ท้องถิ่น/เอกชนมีส่วนร่วม

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 2 เสริมสร้างศักยภาพใน รพ.สต. ขนาดใหญ่ที่มี ปชก. หนาแน่น ( ปชก.ประมาณ 10,000 คน ) เป้าหมาย ร้อยละ 100 จังหวัดสงขลา จำนวน 20 แห่ง ใน 8 อำเภอ จังหวัดสตูล จำนวน 3 แห่ง ใน 3 อำเภอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 9 แห่ง ใน 6 อำเภอ จังหวัดยะลา จำนวน 5 แห่ง ใน 3 อำเภอ จังหวัดนราธิวาส จำนวน 12 แห่ง ใน 6 อำเภอ จำนวนรวม 49 แห่ง ใน 26 อำเภอ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 2 เสริมสร้างศักยภาพใน รพ.สต. ขนาดใหญ่ที่มี ปชก.หนาแน่น ( ปชก.ประมาณ 10,000 คน ) เป้าหมาย ร้อยละ 100 ประเด็นการพัฒนา เพิ่มศักยภาพของบุคลากร (สนับสนุนโดยแพทย์) เพิ่มขีดความสามารถของหน่วยบริการ โดยเฉพาะ การคัดกรองและรักษาโรคเรื้อรัง 3. จัดหาครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่มีมาตรฐานตามความจำเป็น งบประมาณปี 2555 จำนวนเงิน 1,000,000 บาทต่อแห่ง

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA1 การพัฒนาเพื่อยกระดับบริการปฐมภูมิ 3 เป้าหมายดำเนินการภายใน 3 เดือน(ต.ค.-ธ.ค.54) 3.1 ข้อมูลบริการสาธารณสุข online ร้อยละ 100 เพื่อการรายงาน เฝ้าระวังและพัฒนาการส่งต่อ 3.2 บริการผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบ ( Catchment Area) โดยนับ OP visit ร้อยละ 60 3.3 อัตราเพิ่มของผู้ป่วย DM / HT ลงทะเบียนใน ศพม./ รพ.สต. มากกว่าร้อยละ 10 3.4 อัตราความคลอบคลุมของ EPI เพิ่มขึ้น 3.5 อัตราเพิ่มของกิจกรรม Home health care

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA2 การจัดตั้งศูนย์ความเชี่ยวชาญ ร้อยละ 50 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ทารกแรกเกิด - 2 6 มะเร็ง 1 อุบัติเหตุ ฉุกเฉิน หัวใจ/หลอดเลือด รพ.สงขลา รพ.สตูล รพ.ปัตตานี รพ.เบตง รพศ.นราธิวาสฯ รพ.สุไหงโกลก รพศ.หาดใหญ่ รพศ.ยะลา รพศ.หาดใหญ่ รพศ.ยะลา รพศ.หาดใหญ่ รพศ.ยะลา รพศ.หาดใหญ่ รพศ.ยะลา

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี KSA3 การยกระดับ รพ. ร้อยละ 100 ยกระดับ รพ. เป็น A 2 แห่ง รพศ.หาดใหญ่ รพศ.ยะลา รพ.สงขลา รพ.สตูล รพ.ปัตตานี รพศ.นราธิวาสฯ ยกระดับ รพ. เป็น S 4 แห่ง ยกระดับ รพ. เป็น M1 2 แห่ง รพ.เบตง รพ.สุไหงโกลก ยกระดับ รพ. เป็น M2 2 แห่ง รพ.สมเด็จฯนาทวี รพร.สายบุรี ยกระดับ รพ. เป็น F1 7 แห่ง รพ.รามัน รพ.ระแงะ รพ.ละงู รพ.โคกโพธิ์ รพร.ยะหา รพ.ระโนด รพ.ตากใบ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการ 5 ปี 3. การบริหารจัดการเครือข่ายบริการ 1) ทางเลือกการบริหารจัดการเครือข่าย 2 รูปแบบ “พวงบริการขนาดใหญ่” ระดับ A ถึง P ครอบคลุมประชากร 5 ล้านคน (4-8 จว.) รวมทั้งประเทศ 12 พวง ข. “พวงบริการจังหวัด” ระดับ S ถึง P 2) การจัดหาแหล่งทุนเพื่อการพัฒนาเครือข่าย 3) การบริหารการเงินการคลัง UC

การจัด “พวงบริการขนาดใหญ่” (ปชก. 5 ล้านคน) การจัด “พวงบริการขนาดใหญ่” (ปชก. 5 ล้านคน) ภาคกลาง 3 เครือข่าย กลางบน กลางออก กลางตก ภาคใต้ 2 เครือข่าย ใต้บน ใต้ล่าง ภาคอีสาน 4 เครือข่าย อีสานบน อีสานกลาง อีสานตะวันออก อีสานล่าง ภาคเหนือ 3 เครือข่าย เหนือบน เหนือกลาง เหนือล่าง

การบริหารการเงินการคลัง 1. หลักการ ของบ UC จาก สปสช. ทั้งก้อน มาบริหารจัดการในเครือข่าย 2. ควรมี Provider Board ของเครือข่ายบริการ เพื่อปรับเกลี่ยงบดำเนินการและงบลงทุนต่างๆ 3. ควรมีกลไกไตรภาคีระดับเขต (กสธ. สปสช. ผู้ทรงคุณวุฒิ) มีบทบาทเป็น Area Health Board

สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป 1. มอบหมาย คณะทำงานยุทธศาสตร์ 5 ชุด ดำเนินการ 2. จังหวัด/หน่วยบริการ (CUP) implement ให้เป็นไปตามแผน ๕ แผน

สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป 1. มอบหมาย คณะทำงานยุทธศาสตร์ 5 ชุด ดำเนินการ คณะที่ ๑ คณะทำงานพัฒนาบริการ สาธารณสุขระดับปฐมภูมิและ PP ประธาน : นพ.ยอร์น สสจ.ปัตตานี เลขาฯ : นพ.พณพัฒน์ รพศ.หาดใหญ่ คณะที่ ๒ คณะทำงานพัฒนาเครือข่ายเชี่ยวชาญ ๔สาขา ประธาน : นพ.สุภาพ รพศ.หาดใหญ่ เลขาฯ : นพ.ศักดา รพศ.หาดใหญ่ คณะที่ ๓ คณะทำงานพัฒนาบริการสาธารณสุขระดับกลาง (MID level) ประธาน : นพ.ศิริชัย สสจ.สงขลา เลขาฯ : นพ.สุวัฒน์ รพ.นาทวี คณะที่ ๔ คณะทำงานพัฒนาระบบส่งต่อ ประธาน : นพ.ปรีชา รพ.สงขลา เลขาฯ : นพ.ภควัต รพศ.หาดใหญ่ คณะที่ ๕ คณะทำงานพัฒนาระบบคุณภาพบริการ ประธาน : นพ.พรจิต รพ.ปัตตานี เลขาฯ : นพ.อุดมเกียรติ สสจ.ปัตตานี 2. จังหวัด/หน่วยบริการ (CUP) implement ให้เป็นไปตามแผน ๕ แผน

สิ่งที่จะดำเนินการต่อไป 2. จังหวัด/หน่วยบริการ (CUP) implement ให้เป็นไปตามแผน ๕ แผน แผนปฎิบัติการ ๕ ปี ประกอบด้วย ๑ แผนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ( 3 KSA ) แผนพัฒนาบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิและ PP แผนพัฒนาเครือข่าย เชี่ยวชาญ ๔สาขา แผนพัฒนาบริการสาธารณสุขระดับกลาง (MID level) ๒ แผนงบลงทุนด้านที่ดิน สิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ ๓ แผนพัฒนากำลังคน (HRM, HRD) ๔ แผนระบบส่งต่อ ๕ แผนพัฒนาคุณภาพบริการ ( พบส. )

ประเด็นดำเนินการของ สสจ.ในการบริหารแผน จัดโครงสร้างที่สำคัญของสำนักงานสาธาณสุขจังหวัด ในการบริหารแผน 5 แผนประกอบด้วย ผชชว. รับผิดชอบเรื่อง Service Plan ฝ่ายแผนงานและประเมินผล สสจ. ผู้รับผิดชอบงานระบบบริการสาธารณสุข www.themegallery.com

..ยังไม่จบ.. โปรดติดตามตอนต่อไป

จิตวิทยากับการทำงาน ด้านสุขภาพ ชายแดนใต้ โดย.. นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ (ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 8) วันที่ 21 กันยายน 2554 ณ โรงแรมลีการ์เด้นส์ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ผลรวมของอารมณ์,ความคิดและพฤติกรรม(ทำงาน) จิตวิทยา (การทำงาน) ภาพแห่งความสุข สุขภาพ ยากส์ วิกฤต จชต.

“ความสุขและความทุกข์ เป็นเรื่องของอารมณ์เหนือความคิด” การทำงาน (ยากส์) ภาวะวิกฤติ (ความปลอดภัย) V.S. EQ RQ and ความสุข “ความสุขและความทุกข์ เป็นเรื่องของอารมณ์เหนือความคิด”

มีใครบ้างที่สามารถทำงานหนักภายใต้อุปสรรคและวิกฤต บางคนมีความทุกข์ แต่หลายคนมี ความสุขได้ (ตามสมควร) บางคนปรับตัว ไม่ได้แต่หลายคน ปรับตัวได้

เมื่อเผชิญปัญหาในภาวะวิกฤต คนส่วนใหญ่จะตั้งคำถาม ทำไม............................. 1 ทำอย่างไร........................ 2 ปัญหา/อุปสรรคในงานเป็นของจริง แต่จะผ่านได้หรือไม่มักขึ้นอยู่กับวิธีมองปัญหานั้น

เมื่อเผชิญปัญหาวิกฤต ทำไมฉันถึงโชคไม่ดี ได้มาทำงานในจังหวัดชายแดนใต้ เมื่อก่อนฉัน/พวกเราไม่ลำบากในการทำงานเหมือนทุกวันนี้ คุณตั้ง คำถาม อย่างไร ถ้าหากเจ้านายไม่เป็นแบบนี้ฉันคงมีความสุขกว่านี้ ทำไมลูกน้องผมถึงมีประสิทธิภาพการทำงานต่ำ

เมื่อเผชิญปัญหาวิกฤต คนที่อยู่รอด และเอาชนะ อุปสรรคมัก ตั้งคำถาม ฉันจะปรับตัวอย่างไร/ทำอย่างไร ...? ฉันจะอยู่กับความไม่ปลอดภัยอย่างไร...? ฉันจะทำงานกับประชาชนอย่างไร...? ผมจะฝึกลูกน้องอย่างไร...? ผมจะตอบสนองนโยบายอย่างไร...?

Key word You Must Be Proactive ถามว่า “ทำอย่างไร” มากกว่า “ทำไม” ถามว่า “ทำอย่างไร” มากกว่า “ทำไม” ทัศนคติเป็นสิ่งสำคัญ You Must Be Proactive

ผู้มีความสุขมิใช่ผู้ที่ มองเห็นด้านบวก? ผู้มีความสุขมิใช่ผู้ที่ ควบคุมหิมะได้ แต่เป็นผู้ความคุม ปัจจัยภายในตนได้

(มองเห็นโอกาสในวิกฤต) Key word มองเห็นความก้าวหน้า มองหาด้านบวก มองเห็นบวกในลบ (มองเห็นโอกาสในวิกฤต)

จงทำสิ่งนั้นให้มีความสุข กฎทองคำของการมองโลก สิ่งใดเกิดขึ้นแล้ว สิ่งนั้นดีเสมอ สิ่งใดยังไม่ได้เกิด อาจดีหรือไม่ดีก็ได้ สิ่งใดที่ต้องทำ(เลี่ยงไม่ได้) จงทำสิ่งนั้นให้มีความสุข

“ความสุขและความทุกข์ เป็นเรื่องของอารมณ์เหนือความคิด” การทำงาน (ยากส์) ภาวะวิกฤติ (ความปลอดภัย) V.S. EQ RQ and ความสุข “ความสุขและความทุกข์ เป็นเรื่องของอารมณ์เหนือความคิด”

ประเภท ของ “ความสุข” และ“ความสำเร็จ” หน้าที่ และการงาน “ความสุข” “ความสำเร็จ” ชีวิตส่วนตัว ครอบครัว การประกอบวิชาชีพ (วิชา+อาชีพ)

เป้าหมาย แห่ง “ความสุข”และ “ความสำเร็จ”...อยู่ที่ไหน ? Personal identity Professional identity Goal & Goal of Life

ปัจจัยที่ส่งผลต่อ “ความสุข”และ “ความสำเร็จ” สินทรัพย์ (คุณค่า) ประจำตัว ติดตามตัวมา (พรสวรรค์) กรรมพันธุ์ การเลี้ยงดู และประสบการณ์ที่ผ่านมา คุณค่าประจำตัวที่สร้างขึ้นมาใหม่ (Value Creation) หรือ (พรแสวง) ความเป็นคนที่สมบูรณ์บวกความเป็นทีมสุขภาพมืออาชีพ ประกอบกับความคิด,ทัศนะและมุมมองต่อชีวิต,การงานเชิงบวก

“ความสุข” และ “ความสำเร็จ” เส้นทาง (วิธีการ)..สู่.. “ความสุข” และ “ความสำเร็จ” (บัญญัติ 10 ประการ) “ความสุข”และ“ความสำเร็จ” นั้น ประกอบด้วยความพยายามทีละเล็ก ทีละน้อย ในแต่ละ วัน

กำหนดเป้าหมาย ที่แน่นอน (Goal of Life) 1 กำหนดเป้าหมาย ที่แน่นอน (Goal of Life) “กุมเป้าหมายที่แน่นอนไปประกอบวิชาชีพ (ทำงาน)” “อย่าเสียเวลากับ...(งาน)...ที่คุณไม่ชอบ (ไม่รัก)”

สร้างทัศนคติในทางสร้างสรรค์(Positive Mental Attitude ) 2 สร้างทัศนคติในทางสร้างสรรค์(Positive Mental Attitude ) “ริเริ่ม สิ่งใหม่ที่ดีกว่า อยู่เสมอ” “หากไร้ซึ่งความรู้ คุณก็หมดโอกาส” (ไขว่คว้าหาความรู้ และใช้มันให้เป็นประโยชน์) Positive Mental Attitude “คิดใหญ่ไม่คิดเล็ก” (ใหญ่กว่าย่อมดีกว่า และ โอกาสมากกว่า) “ฝันให้ไกลไปให้เกือบถึง”

สร้างความสำเร็จ ด้วยพลังความเชื่อจากจิตใต้สำนึก 3 สร้างความสำเร็จ ด้วยพลังความเชื่อจากจิตใต้สำนึก คนเรายังมีพลังแฝงซ่อนเร้นอยู่ในตัวอีกมาก เชื่อว่าเราเป็นคนมีความรู้ ความสามารถ ขนาดของความสำเร็จ ถูกกำหนด โดยขนาดของความเชื่อของท่าน

คุณ คือ คนพิเศษ กล้าที่จะเดินเข้าหา..(งาน)..แล้วทำมัน 4 กล้าคิดและทำในขณะที่คนอื่นเพียงมองดู คุณ คือ คนพิเศษ กล้าที่จะเริ่มต้นใหม่ แม้จะเกิดความผิดพลาดมานับครั้งไม่ถ้วน กล้าเปลี่ยนแปลง สู่สิ่งที่ดีกว่า เรียนรู้จากการกระทำและความเสี่ยง กล้าเผชิญหน้ากับวิกฤตทุกสถานการณ์

การทำ..งาน..เกินความคาดหวัง (เงินเดือน) 5 การทำ..งาน..เกินความคาดหวัง (เงินเดือน) ค่าตอบแทน มากกว่าเงินเดือน (คุณค่า) กฎแห่ง การตอบแทน ทวีคูณ ความแตกต่าง จากคนธรรมดา (คนมีความสำเร็จ)

“น้ำขึ้น เรือก็ลอยสูง และแล่นได้ดี หากน้ำงวดลง เรือก็เกยตื้น” เพื่อนร่วมงาน..(งาน)..สำคัญเสมอ 6 “น้ำขึ้น เรือก็ลอยสูง และแล่นได้ดี หากน้ำงวดลง เรือก็เกยตื้น” “ม้าดีต้องมีฝูง คนที่มีความสำเร็จต้องมีเพื่อน” “ทำงานกับคนที่คุณชอบ และ ชอบคุณ” เพื่อนร่วม..(งาน)... ดี...ชีวิตก็ดี เข้าถึงใจ..(คน/เพื่อน)...เพื่อสร้างความสำเร็จ

ล้อที่หมุน...มักไม่เป็นสนิม 7 ล้อที่หมุน...มักไม่เป็นสนิม สนุกกับชีวิต...สนุกกับงาน งานก้าวหน้า ชีวิตก็ก้าวหน้า 3 ความรู้มีอยู่ทุกแห่งหน 4 การเรียนรู้ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ล้อที่หมุนอยู่เสมอย่อมไม่ขึ้นสนิม และเมื่อมันหมุนไปข้างหน้า ย่อมถึงจุดหมายปลายทางไม่วันใดก็วันหนึ่ง

กำลังใจ...เริ่มต้นที่บ้าน(ปัญหาคลี่คลายที่บ้าน) 8 กำลังใจ...เริ่มต้นที่บ้าน(ปัญหาคลี่คลายที่บ้าน) ภรรยา (สามี) ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง พกพลังใจ จากบ้าน ..สู่..ที่ทำงาน พิสูจน์ ด้วยความรัก (Love Bond) สบายใจ เมื่อ ได้กลับบ้าน

อะไร (ความสำเร็จ) เกิดขึ้นแล้ว และ ดีเสมอ อะไร (ความสำเร็จ) เกิดขึ้นแล้ว และ ดีเสมอ 9 “เล็กน้อยก็มีค่า...ความสุขกับความสำเร็จเล็กๆ” “สะสมทีละนิด ชีวิต (ความสำเร็จ) ก็เติมเต็ม” “จงทำให้ดีที่สุดเสมอ เพราะสิ่งที่ท่านปลูกในวันนี้ คือสิ่งที่ท่านจะเก็บเกี่ยวในวันข้างหน้า” “แม้จะช้า...แต่ก็ถึงจุดหมาย(เป้าหมาย)..ความสำเร็จ..”

ลงมือทำ เดี๋ยวนี้ “อย่าดีแต่พูด จงพูดแต่ดี อย่าดีแต่คิด จงคิดแต่ดี ลงมือทำ เดี๋ยวนี้ 10 “อย่าดีแต่พูด จงพูดแต่ดี อย่าดีแต่คิด จงคิดแต่ดี อย่าดีแต่ทำ จงทำแต่ดี และลงมือทำ บัด เดี๋ยวนี้” “ความสุข”และ“ความสำเร็จ..รอท่านอยู่”

Thank You !