กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการ วิเคราะห์นโยบาย
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริจาคอวัยวะ
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
การประชุมนำเสนอแผน-ผลการดำเนินงาน ของสำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การใช้ระบาดวิทยาเพื่อสนับสนุน SRRT ด้านบริหารจัดการ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
กรอบการดำเนินงาน แผนงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ที่ปรึกษา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิฯนางสุจิตรา อังคศรีทองกุล ประธาน คุณพิชัย คชพิมพ์ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย จังหวัดร้อยเอ็ด.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ การจัดการความรู้ กลุ่มสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2555 กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

ขั้นตอนที่ ๑ ความเป็นมา ข้อมูลนำมาประกอบการตัดสินใจ 1.บทบาทหน้าที่ของกลุ่มงาน 2.วิเคราะห์บทบาทหน้าที่หลักของ กลุ่มงาน กับองค์ความรู้ที่จะช่วยให้งานประสบความสำเร็จ 3.ลำดับความสำคัญขององค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน 4.ตั้งเป้าหมายร่วมกันว่า ในปีงบประมาณ 2555 จะจัดการความรู้ในกลุ่มงานกี่เรื่อง กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ที่มาของการเลือกเรื่องที่จะนำมาเลือกเพื่อจะจัดการความรู้ในกลุ่มงาน ในขั้นแรกจะต้องนำข้อมูลดังนี้มาประกอบการตัดสินใจ 1.บทบาทหน้าที่ของกลุ่มงาน 2.วิเคราะห์บทบาทหน้าที่หลักของ กลุ่มงาน กับองค์ความรู้ที่จะช่วยให้งานประสบความสำเร็จ 3.ลำดับความสำคัญขององค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน 4.ตั้งเป้าหมายร่วมกันว่า ในปีงบประมาณ 2555 จะจัดการความรู้ในกลุ่มงานกี่เรื่อง

จัดตั้งคณะกรรมการ กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ คำสั่งคณะกรรมการสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพปี 2555 กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

จัดประชุมเพื่อร่วมกันกำหนดเรื่องในการจัดการความรู้ เพิ่มตารางวิเคราะห์ จนได้เรื่องที่จะ

การวิเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็น องค์ความรู้ในการผลิตสื่อ พบว่ามีองค์ความรู้จำนวน 3 เรื่อง 1.การเขียนข่าว 2.การถ่ายภาพ 3.การออกแบบไวนิล หลังจากประชุมทบทวนบทบาทหน้าที่ ของกลุ่มงานและองค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน พบว่า เราได้เรื่องที่จะจัดการความรู้ คือ การผลิตสื่อ ซึ่งองค์ความรู้ในการผลิตสื่อจะต้องประกอบด้วยองค์ความรู้ย่อย 3 เรื่อง คือ การเขียนข่าว การถ่ายภาพ และ การออกแบบผ้าไวนิล กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

กำหนดวัตถุประสงค์ สร้างความรู้ความเข้าใจในเทคนิคการผลิตสื่อเพื่อใช้ใน การเผยแพร่ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ให้แก่เจ้าหน้าเพื่อนำ องค์ความรู้นั้นไปใช้ในการปฏิบัติงานด้านการผลิตสื่อเพื่อใช้ใน การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ก่อนที่จะจัดการความรู้ทั้ง 3 เรื่อง จำเป็นต้องกำหนดวัตถุประสงค์ก่อน วัตถุประสงค์คือ กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

ขั้นตอนที่ ๒ การวิเคราะห์องค์ความรู้ในและนอกหน่วยงาน เรื่อง องค์ความรู้ในหน่วยงาน องค์ความรู้นอกหน่วยงาน การเขียนข่าว นายศุภวัจน์ ศรีสูงเนิน นักข่าว/อาจารย์ในมหาวิทยาลัยอุบลฯ คณะสื่อสารสาธารณะ การถ่ายภาพ ไม่มี อาจารย์ในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - ร้อยโท เภสัชกร ทวีสิทธิ์ วีระวัธนชัย การออกแบบไวนิล อาจารย์ในโรงเรียน อ.เขื่องใน - อาจารย์เจริญ บุดดีเสาร์ ขั้นตอนที่ 2 มีการวิเคราะห์องค์ความรู้เรื่องการผลิตสื่อ ว่ามีองค์ความรู้อยู่ในหน่วยงาน หรือไม่ หรือ อยู่นอกหน่วยงาน พบว่า กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ขั้นตอนที่ ๓ กำหนดแผนการจัดการความรู้ร่วมกัน เรื่อง วัน/เวลา วิทยากร เทคนิคการเขียนข่าว 17 มกราคม 2555 -คุณศุภวัจน์ ศรีสูงเนิน เทคนิคการถ่ายภาพ - ร้อยโท เภสัชกร ทวีสิทธิ์ วีระวัธนชัย เทคนิคการออกแบบไวนิล 8-9 มีนาคม 2555 - อาจารย์เจริญ บุดดีเสาร์ ขั้นตอนที่ ๓ กำหนดแผนการจัดการความรู้ร่ว

ขั้นตอนที่ ๔ ดำเนินการจัดการถ่ายทอดความรู้ ตามแผน

ถ่ายทอดเทคนิคการเขียนข่าว ถ่ายทอดเทคนิคการถ่ายภาพ ประชุม Cop สื่อสาร ครั้งที่ 2 17 มกราคม 2555 ชั้น 3 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ถ่ายทอดเทคนิคการเขียนข่าว ถ่ายทอดเทคนิคการถ่ายภาพ กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความร่วมมือ กับเครือข่ายเพื่อพัฒนากลไกสื่อสารในภาวะฉุกเฉิน 8-9 มีนาคม 2555 ถ่ายทอดเทคนิคการออกแบบไวนิล กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

ขั้นตอนที่ ๕ กระบวนการถอดบทเรียน ครั้งที่ 1 ถอดบทเรียนเทคนิคการเขียนข่าว เทคนิคการถ่ายภาพ ครั้งที่ 2 ถอดบทเรียนเทคนิคการออกแบบไวนิล ครั้งที่ 3 ถอดบทเรียนเทคนิคการเขียนข่าว เทคนิคการถ่ายภาพ เทคนิคการออกแบบไวนิล ครั้งที่ 4 สรุปถอดบทเรียนเทคนิคการผลิตสื่อเพื่อการเผยแพร่ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค เมื่อดำเนินการถ่ายทอดองค์ความรู้แล้ว ได้ดำเนินการถอดบทเรียนดังนี้ กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

ผลผลิตจากการถอดบทเรียน

องค์ความรู้ กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

แบบฟอร์มส่งข่าว กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ แบบฟอร์มส่งข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดการความรู้ องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน 1 เรื่อง ( 3 เรื่องย่อย) ตอบ PMQA หมวด 4 ได้กระบวนการทำงานใหม่ ตอบ PMQA หมวด 6 ได้ฐานข้อมูลใหม่ ตอบ PMQA หมวด 4

กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ บทเรียนหรือวิธีปฏิบัติที่ดีที่เกิดขึ้นในการดำเนินงาน - มีผู้เข้าชมเอกสารเว็ปไซด์ 9,291 คน 19,041 ครั้ง (ข้อมูลจาก ตุลาคม 2554 ถึง 5 กันยายน 2555) - มีการผลิตข่าวตั้งแต่ต้นปีงบ 2555 จำนวน 82 ฉบับ มีการออกแบบไวนิลเพื่อใช้ในการรณรงค์ จำนวน 24 ผืน - สามารถเผยแพร่ข้อมูลนั้นได้อย่างรวดเร็วและทันเหตุการณ์ - ลดต้นทุนในการจ้างผลิตสื่อได้

ข้อเสนอแนะในการนำบทเรียนไปใช้ ควรมีการประชุมเพื่อถอดบทเรียนในครั้งต่อๆไป เพื่อให้ได้เทคนิคในการผลิตสื่อเพื่อ การเผยแพร่ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค ที่สามารถใช้ได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ แบบฟอร์มการส่งข่าว ควรมีการทบทวนเพื่อปรับให้ง่ายต่อการใช้ ควรมีการประเมินผลความพึงพอใจเพื่อนำมาปรับปรุง ในการจัดการความรู้ในครั้ง ต่อไป กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

จบการนำเสนอ สวัสดีครับ กลุ่มสื่อสารความสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ