ผลกระทบของ DRG ต่อศัลยแพทย์ไทย วิกฤต หรือ โอกาส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการบันทึกข้อมูลเวชระเบียน การให้บริการสุขภาพช่องปาก
Advertisements

Homeward& Rehabilitation system
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 26/04/53 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Continuous Quality Improvement
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
การพัฒนาระบบการเงินการคลังสุขภาพและ การพัฒนาระบบ CaseMix ของไทย
DRG & AUDIT.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
แนวทางการลด Hospital stay readmission, waiting/cycle/turn around time
Clinical Reasoning (clinical analysis & decision making)
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
มาตรฐานข้อมูลสนับสนุนกลไกประกันสุขภาพ
FINANCING OF MEDICAL EDUCATION Supasit Pannarunothai Faculty of Medicine, Naresuan University.
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
(Sensitivity Analysis)
ผลกระทบของราคากลาง กรมบัญชีกลาง
ระบบ DRGs กับ สวัสดิการข้าราชการ พ.ญ.ทัสนีย์ จันทร์น้อย
DRG and doctor.
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
25/07/2006.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
บทที่ 5 การวางแผนการผลิต.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ดัชนีชี้วัดระดับบุคคล หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ที่สำคัญของบุคคลแต่ละตำแหน่งหรือแต่ละบุคคล ซึ่งแสดงผลเป็นข้อมูลในรูปของตัวเลขเพื่อสะท้อนประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของบุคคล.
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
Reader : Hathaichanok Sumalee Presented in Journal Club 22/10/10
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
ทิศทางการจัดสรร งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจำปี 2551
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
กรอบแนวคิด หลักการ กฎหมาย คุ้มครองผู้เสียหายจากบริการ สาธารณสุข เครือข่ายผู้เสียหายทางการแพทย์ เครือข่ายศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพ ภาค ประชาชน มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค.
การวางแผนยุทธศาสตร์.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
การเขียน Abstract บทคัดย่อ (เรื่องย่อ)
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
DRGs (Diagnosis Related Groups) การจัดกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม ผศ. นพ
สำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ(สกส)
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัดผลงาน 1. มีการคณะกรรมการ หรือ คณะอนุกรรมการ.
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Diagnostic Related Group
การเบิกจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน ภายใต้เพดานงบประมาณ โดยใช้เกณฑ์กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม ( DRG ) ( เริ่ม 1 เม.ย. 45 )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลกระทบของ DRG ต่อศัลยแพทย์ไทย วิกฤต หรือ โอกาส ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำจำกัดความ กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (Diagnosis Related Group, DRG) คือ ระบบแบ่งกลุ่มผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาแบบเฉียบพลันในโรงพยาบาล เพื่อวัดผลผลิตของโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกันจะมีวันนอนในโรงพยาบาล (iso-length of stay) และใช้ทรัพยากรโรงพยาบาลเพื่อการรักษาใกล้เคียงกัน (iso-resource) (Fetter et al 1980).

การทำนายผลลัพธ์ Y คือ Length of stay, ค่ารักษา X คือ Y = b X + C Y คือ Length of stay, ค่ารักษา X คือ Principal diagnosis Operating room procedure Comorbidity and complication Age Discharge type Body weight for neonate

กลุ่มโรคร่วมและความเสี่ยงทางการเงิน 3MHIS 2001

Allocation of DRG DRG for Craniotomy No No DRG 0101X Yes DRG 0102X Major Diagnostic Category 1 Diseases & Disorder of the Nervous System Craniotomy Principal Dx Trauma OR Procedure No DRG 0102X Spinal DRG 0103X No

ค่ามาตรฐานของ DRG DRG 01010 Craniotomy for trauma, no CC, RW = 3.9851, LOS=7.35 DRG 01020 Craniotomy except for trauma, no CC, RW = 5.8911, LOS=11.42 DRG 01024 Craniotomy except for trauma, with catastrophic CC, RW = 9.7548, LOS=23.53

คุณสมบัติสำคัญของ DRG ใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในระบบ ICD10 (ICD10TM)/ICD-9-CM มีความคล้ายคลึงด้านต้นทุนในการรักษา มีความคล้ายคลึงกันทางคลินิก ปรับเป็นปัจจุบันสม่ำเสมอ ใช้กันอย่างแพร่หลาย

ผลกระทบของ DRG ด้านดี สามารถคุมค่าใช้จ่ายได้ (Cost containment) กระตุ้นประสิทธิภาพของ ร.พ. ปรับระบบข้อมูลดีขึ้น ด้านลบ เกิดการเบี่ยงเบนต้นทุน (Cost shifting) การกลับเข้านอน ร.พ.สูงขึ้น (Readmission) ข้อมูลเบี่ยงเบน (DRG creep)

การปรับ DRG ให้เป็นปัจจุบัน Federal Register (ทุกปี) จัดกลุ่ม DRG ใหม่ (Reclassification) คำนวณน้ำหนักใหม่ (Recalibration) ปรับราคาใหม่ (Rebasing) การปรับอย่างอื่น (Other adjustments) นโยบายระยะผ่าน (Transition Policy)

ลูกค้าของ DRG ผู้วางแผนนโยบายสาธารณสุข - คาดการณ์งบประมาณ ผู้วางแผนนโยบายสาธารณสุข - คาดการณ์งบประมาณ ผู้บริหารโรงพยาบาล - ชี้ช่องทางธุรกิจ แพทย์ - เพื่อเปรียบเทียบผลงาน พยาบาล - ชี้ความต้องการชั่วโมงของการพยาบาล ผู้ตรวจรับรอง ร.พ. - มาตรฐานคุณภาพบริการ

หนทางสู่ความสำเร็จทางธุรกิจกับ DRG วันนอนใน ร.พ. สั้นลง การใช้บริการ - ลดลง การตรวจก่อนเข้านอน ร.พ. - เพิ่มขึ้น ๑

กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของไทย DRG version 1 (พ.ศ.๒๕๔๑) รับแนวคิด US-HCFA DRG DRG version 2 (พ.ศ.๒๕๔๓) รับแนวคิด US-HCFA DRG, แปลง ICD10 เทียบเคียง ICD9CM เพื่อครอบคลุมทุกโรค DRG version 3 (พ.ศ.๒๕๔๖) รับแนวคิด Australian AR-DRG, นำบัญชีคะแนนความรุนแรงของโรคร่วมและโรคแทรก แยก DRG แต่ละกลุ่มตามผลคำนวณความรุนแรง 0-4, 0 ไม่มีโรคร่วม-โรคแทรก, 4 โรคร่วม-โรคแทรกรุนแรงมาก

กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของไทย DRG version 4 (เมษายน พ.ศ.๒๕๕๐) แก้ปัญหาการรักษาหรือหัตถการที่ทำพร้อมกันสองข้าง (bilaterality) และการรักษาหรือหัตถการที่ทำซ้ำหลายครั้ง (multiple repeated procedures ) โดยใช้ ICD9CM2005Ext ตั้งแต่ เมษายน ๒๕๔๘

Proportion of surgical cases 2006 From 7.18 million cases, 18% were surgical cases

Proportion of surgical cases 2006

Case fatality and surgical treatment Case fatality rate of medical and surgical cases by MDC MDC 00 Pre MDC, 01 nervous system, 04 respiratory system, 15 newborn, 24 multiple significant trauma, 25 HIV, CS civil servant medical benefit, UC universal coverage

Case fatality and benefit type Case fatality rate of surgical cases, MDC and medical benefit MDC 00 Pre MDC, 01 nervous system, 04 respiratory system, 15 newborn, 24 multiple significant trauma, 25 HIV, CS civil servant medical benefit, UC universal coverage

Access to surgical treatment by benefit type MDC 00 Pre MDC, 01 nervous system, 04 respiratory system, 15 newborn, 24 multiple significant trauma, 25 HIV, CS civil servant medical benefit, UC universal coverage

Supasit Pannarunothai, MD, PhD Other casemix systems Supasit Pannarunothai, MD, PhD Faculty of Medicine, Naresuan University

Source: Innovative care for chronic conditions:WHO, 2003