ประเด็นติดตาม Palliative care
Palliative care ปี 2560 1. มีคณะกรรมการ ประกอบด้วยใครบ้าง 2. แนวทางการดูแลอย่างไร 3. การจัดตั้งงานการดูแลแบบประคับประคองโดยหน่วยงานใด 4. กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับดูแลตามแนวทาง Palliative Care มากน้อยอย่างไร 5. ระบบบริการหรือ Function การทำงานที่แสดงถึงการเชื่อมโยงการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
6. การรักษา/บรรเทาด้วย Strong opioid medication และการแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ อย่างไร 7. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างไร 8. Family Meeting และมีการทำ Advance Care Planning (ACP) 9. มี Pain Clinic หรือ Palliative Care Clinic 10. มีแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรมที่เกี่ยวข้องกับสสจ. สสอ. รพ.สต. องค์กรในท้องถิ่นหรือองค์กรต่างๆ อย่างไร 11. มีการสร้างเครือข่ายและแนวทางการรับ-ส่งต่อ
แผนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่1 Palliative care team+Care manager+CPG Strong opioid medication+ทางเลือก ขั้นตอนที่2 Family meeting+Advance care planning Pain/Palliative Clinic ขั้นตอนที่3 การดำเนินงานร่วมกับชุมชน ขั้นตอนที่4 การสร้างเครือข่ายและแนวทางการรับส่งต่อ มีคลังอุปกรณ์ที่ใช้ในการสนับสนุนผู้ป่วย ขั้นตอนที่5 การติดตามการบรรลุเป้าหมาย มีงานวิจัยหรืองานพัฒนาคุณภาพ
แนวทางการดำเนินงาน พบผู้ป่วยที่ควรได้รับการดูแลแบบประคับประคอง Family meeting and advance care planning ทุกราย ให้การดูแลแบบประคับประคองตามบริบทแต่ละอำเภอ ส่งดูแลต่อเนื่องที่บ้านทุกราย นัดติดตามการรักษาที่ Palliative Clinic ทุกราย
ตัวชี้วัดงาน Palliative care ตัวชี้วัดหลัก (ตามกรมการแพทย์) ยังมีประเด็นที่ต้องให้คำนิยามที่ชัดเจนดังต่อไปนี้ 1.ในหัวข้อ : กลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ได้รับการดูแลตามแนวทาง Palliative care คำว่าการดูแลตามแนวทาง Palliative care ของจังหวัดเชียงใหม่หมายถึงผู้ป่วยต้องได้รับการลงทะเบียนในหน่วยบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองของหน่วยงาน ได้รับการวินิจฉัย Z51.5 และได้ทำ Family meeting and advance care planning ได้รับการดูแลตาม PPS ของผู้ป่วย ส่งดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และการติดตามการดูแลต่อเนื่อง
A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง palliative care (ตามข้อ 1) 2.สำหรับการคำนวณตัวชี้วัดข้อ กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลแบบประคับประคองมากกว่าร้อยละ 50 ใช้สูตรคำนวณคือ (A/B) x 100 A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง palliative care (ตามข้อ 1) B = จำนวนผู้ป่วยที่อยู่ในเกณฑ์ต้องได้รับการดูแลที่มาลงทะเบียนในหน่วยบริการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในหน่วยงาน
A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย Strong opioid medication 3.ตัวชี้วัด : มีการรักษาด้วย Strong opioid medication มากกว่าร้อยละ 30 (รพ.ระดับ A,s,M1) มากกว่ารัอยละ 20 (รพ.ระดับ M2,F1-3) ใช้สูตรคำนวณคือ (A/B) x 100 A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วย Strong opioid medication B = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวทาง palliative care (ตามข้อ 1)
ตัวชี้วัดจังหวัดเชียงใหม่ ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลแบบประคับประคองมากกว่าร้อยละ 50 อัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยอาการรบกวนซ้ำใน 28 วันของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง น้อยกว่าร้อยละ 10 อัตราการเข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการรบกวนซ้ำใน 48 ชั่วโมง ของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง น้อยกว่าร้อยละ 10 ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองมีการรักษาด้วย Strong opioid medication มากกว่าร้อยละ 30 ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองมีการบรรลุเป้าหมายตาม Advance care plan มากกว่าร้อยละ 80
ขอบคุณค่ะ