งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี
Palliative care champions พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี

2 โรงพยาบาลศูนย์ 1022 เตียง 53 หอผู้ป่วย
โรงพยาบาลอุดรธานี โรงพยาบาลศูนย์ 1022 เตียง 53 หอผู้ป่วย บุคลากร 3117 คน 32 PCU, ประชากร 406,206 คน

3 Palliative care กับการรับรองคุณภาพ
การพัฒนาต้องควบคู่ไปกับคุณภาพ เป็นการแสดงให้คนอื่นเห็นความสำคัญของงาน palliative care ใบเบิกทางของการพัฒนางาน (ได้รับรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติปี 2559(Thailand Public Service Awards) ประเภทรางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ เรื่อง”การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองจังหวัดอุดรธานี”) ผู้บริหารเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุน ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ ผู้ใช้บริการเกิดความไว้วางใจ เปลี่ยนทัศนคติของคนทำงาน

4 ข้อมูล PC รพ.อุดรธานี ปี 2560

5 ข้อมูล PC รพ.อุดรธานี ปี 2561

6 สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการพัฒนางาน palliative care

7 1.Teamwork&เครือข่าย แพทย์ onco/Hemato เภสัชกร หน่วยเมตตารักษ์
วิสัญญีแพทย์ โภชนากร ทีมแพทย์ทางเลือก พยาบาล เครือข่ายรพช./รพสต.

8 พัฒนาสมรรภนะของทีม บุคลากร หลักสูตร จำนวน แพทย์ BCCPM 8 weeks.
PC for doctor 3-5 วัน 3 คน 5 คน เภสัชกร PC for pharmacists 2 weeks PC for pharmacists 4 month 1 คน พยาบาล CPCCN 4 weeks. BCCPN 6 weeks. Specific PC 4 month. 2 คน

9 พัฒนาสมรรถนะของทีมรพช./รพสต./ชุมชน/อสม.
พัฒนาสมรรภนะของทีม บุคลากร หลักสูตร จำนวน พยาบาล อบรม PCWN 4 รุ่น (5 วัน) 92 คน พัฒนาสมรรถนะของทีมรพช./รพสต./ชุมชน/อสม.

10 มีระบบการให้คำปรึกษา 24 ชม.
กำหนดตารางผู้รับ consult ของแพทย์ครบทุกวัน มีgroup line PC ของรพ.และเครือข่าย หัวใจสำคัญของpalliative คือ การเข้าถึงได้24hr.

11 แบบฟอร์มให้คำปรึกษาในเครือข่าย
Case finding ในชุมชน

12 Flow chart consult palliative care (IPD)
แพทย์เจ้าของไข้ Consult PC พยาบาล wardประสาน PC nurse PC nurse เยี่ยมและและเมินผู้ป่วย Consult แพทย์ตามวัน

13

14

15 แพทย์/พยาบาล/เภสัชกร/โภชนากร
Palliative care clinic :One Stop Service พฤหัสบดี/ศุกร์บ่าย แพทย์/พยาบาล/เภสัชกร/โภชนากร

16 ทำ Family meeting/ ทำ Advance care planning
มีระบบการ round case palliative ทุกวันอังคาร ทำ Family meeting/ ทำ Advance care planning

17 มีระบบการติดตามเยี่ยมบ้าน ทุกบ่ายวันจันทร์

18 ให้การดูแลอย่างต่อเนื่องร่วมกับทีมเจ้าของไข้
ประเมินผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัว ทำ family meeting/advance care plan ดูแลจัดการอาการรบกวน ประเมินความพร้อมก่อนจำหน่าย จำหน่ายกลับบ้าน ส่งต่อ รพ. เครือข่ายใกล้บ้าน เสียชีวิตที่โรงพยาบาล ติดตามที่ OPD palliative หรือทางโทรศัพท์ เยี่ยมบ้านในเขต ติดต่อผ่าน รพ. เครือข่าย หรือทางโทรศัพท์ ดูแลการจัดการอาการ ก่อนเสียชีวิต กรณีระยะผู้ป่วยใกล้เสียชีวิตดูแลจัดการอาการ เยี่ยมบ้านหรือติดต่อ รพ.เครือข่ายช่วยดูแล ให้ข้อมูลญาติ ดูแลช่วยเหลือ ใบรับรองการตาย การนำศพกลับบ้าน ติดตามที่ การปรับตัวของญาติ หลังการสูญเสีย Bereavement care

19 ศูนย์เครื่องมือ/อุปกรณ์ทางการแพทย์สำหรับผู้ป่วย
โรงพยาบาลอุดรธานี รพท./รพช. ทุกแห่ง รพ.สต. ขนาดใหญ่ *ถังออกซิเจนพร้อมอุปกรณ์ *เตียงลม *เครื่องดูดเสมหะ -Syringe Driver -เครื่องผลิตออกซิเจน *เงินงบประมาณ *บริจาค *ผู้ป่วยจัดซื้อเอง -กองทุนตำบล/อปท. -ผ้าป่า

20 ระบบการส่งต่อ-ส่งกลับ
ผ่านระบบ refer link รถจิตอาสา (2559)

21 รับบริจาคซื้อ easy pump

22 หอเบาใจ เริ่มเปิด 1 พ.ค. 2562 เพื่อเป็นสถานที่ดูแลคนไข้ระยะท้าย ช่วง end of life, ปรับยา, เตรียมการ ดูแลที่บ้าน ไม่เกิน 1-2wk ญาติได้อยู่เฝ้าดูแลตลอดเวลา มีพื้นที่ในการทำกิจกรรมตามความ ต้องการของครอบครัว ยอดรวม 13 คน เฉลี่ยวันนอน 2.46 วัน ญาติพึงพอใจมาก

23 วงเบาใจ +คลินิกเบาใจ(รพ.อุดรธานี)
สื่อสารเรื่องการตายดี: ACP อยู่อย่างมีความหมาย ตายอย่างมีคุณค่า


ดาวน์โหลด ppt พญ.สุพรรณี สุดสา โรงพยาบาลอุดรธานี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google