ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
สถานการณ์วัณโรคอำเภอฝาง มกราคม 2561 รายการ 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ทั้งหมด MDR ขึ้นทะเบียนคลินิกวัณโรคฝาง 167 185 212 200 3 202 1 29 -รายใหม่+เป็นซ้ำ* 164 179 203 194 199 27 - รายใหม่+เป็นซ้ำในพื้นที่ฝาง 136 147 169 148 176 20 อัตราป่วยต่อแสนปชก.อ.ฝาง 132 142 141 127 - 139 ยังไม่สิ้นสุดการรักษา (คน) 2 53 รักษาสำเร็จ(%)** 76 74 84 80 เสียชีวิต (%) 8 7 16 9 10 ขาดยา (%) 13 5 (1คน) 6 รักษาล้มเหลว (%) *ไม่รวม Treat after Failure และ Treat after default **คำนวณจากผู้ป่วยที่จำหน่ายแล้วถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560
ระบาดวิทยาวัณโรคอำเภอฝาง แนวโน้มอัตราป่วยปี 2548-60 ปี2560 จำนวน อัตราป่วยต่อแสน อัตราป่วยตาย (%) ขาดยา (%) ต่างด้าว 61 270 5 7 คนไทย+ชาติพันธุ์ 118 136 10 3 เรือนจำ 23 2266 13 ผู้สูงอายุ 47 387 15 4 HIV 12 1188 42 8 DM 147 20 CKD 444 50 บุคคลากร 1 196 ผู้สัมผัส - อัตราป่วยรายตำบล 2560
ประเด็น วัณโรค ประเด็น ข้อค้นพบ แนวทางพัฒนา 1. Structure-Function บูรณาการระดับอำเภอ o คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ) สาธารณสุข o คพสอ o คณะกรรมการ/อนุกรรมการด้านควบคุมโรค ภัยสุขภาพ ชุมชน o เครือข่ายวัณโรคภาคประชาชน (นำร่องต.แม่คะ) o แต่งตั้งคณะทำงานศูนย์ปฎิบัติการยุติปัญหาวัณโรค ภายใต้ ICS อำเภอ o ช่องทางสื่อสาร/ คืนข้อมูลให้ถึงชุมชน o ขยายเครือข่ายวัณโรคภาคประชาชน >พื้นที่เสี่ยง 2. GAP Analysis ความครอบคลุมการคัดกรองไม่บรรลุเป้าหมาย อัตรารักษาสำเร็จต่ำกว่าเป้าหมาย (79.3%) o อัตราตายสูง (11%): 53%เสียชีวิตในเดือนแรก อาการรุนแรง /หอบเหนื่อยเมื่อdx/พื้นที่รอยโรค>70% comorbidity/malnutrition/ผู้สูงอายุ/ผลข้างเคียงจากยา /alcolhol use o อัตราขาดยาสูง (7%): ต่างด้าว/ชาติพันธุ์ 78%, ออกเรือนจำ 11.1% ปฏิเสธการกินยา 11.1% o บูรณาการร่วมกับงาน NCD/HIV/อาชีวอนามัย/LTC o ประเมินปัจจัยเสี่ยงผู้ป่วยทุกราย จัดระดับกลุ่มเสี่ยง และวางแผนการดูแลตามระดับความเสี่ยง (admit/เยี่ยม/FU) o ส่งต่อรพสต.เมื่อขึ้นทะเบียนครั้งแรกและสอบสวนโรคที่บ้านทุกราย มีสมุดประจำตัว มีเบอร์ติดต่อแพทย์/รพสต
ประเด็น วัณโรค ประเด็น ข้อค้นพบ แนวทางพัฒนา 3. Framework P มีเครือข่ายวัณโรคภาคประชาชนเฉพาะตำบลแม่คะ ส่วนตำบลอื่นๆยังไม่มี P ขับเคลื่อนงานวัณโรคโดยพชอ. และขยายเครือข่ายวัณโรคภาคประชาชนไปตำบลเสี่ยงสูง I ยังไม่มีการสนับสนุนจาก อปท. I คืนข้อมูลให้อปท. ร่วมวางแผนสนับสนุน R ยังไม่มีแผนการกำกับติดตามที่ชัดเจนระดับพื้นที่/รพสต. R ใช้ข้อมูลร่วมกันผ่านโปรแกรม TB online กำกับติดตามในเวทีประชุมประจำเดือน /มีจนท.รพสต./อสม.ประจำผู้ป่วยแต่ละราย A มีการสื่อสารปัญหาวัณโรคผ่านการประชุมหัวหน้าส่วน ประชุมผู้นำ อสม. A เพิ่มช่องทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงประชาชนกลุ่มเป้าหมาย B ยังมีความคลาดเคลื่อนในการวินิจฉัยรักษา อสม.และเจ้าหน้าที่ยังมีความเข้าใจในการติดตามผู้ป่วยไม่ตรงกัน B ปรับปรุงแนวปฏิบัติชี้แจงผ่านเวทีประชุม และ line จัดทำสมุดประจำตัว และแนวทางการติดตามผู้ป่วย
วิเคราะห์ตามกรอบการทำงาน SAB ประเด็น ข้อค้นพบ แนวทางพัฒนา 4. Essential List/Task 1.การเฝ้าระวังคัดกรอง 2.การพัฒนาการดูแลรักษา 3.การจัดการทรัพยากร 4.การพัฒนาการมีส่วนร่วม O วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่และคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย Oสื่อสารแนวทางรักษาแก่ผู้เกี่ยวข้อง O มีช่องทางสื่อสารข้อมูลไปยังหน่วยงานสนับสนุน ภาคี O ขอสนับสนุนจากอปท ชุมชน ในการกำกับติดตาม สื่อสารประชาสัมพันธ์ และเฝ้าระวังในชุมชน 5. Activities/ Project ประชุมผู้รับผิดชอบหลักทุกหน่วยบริการปฐมภูมิ โครงการพัฒนาการสอบสวนผู้ป่วยวัณโรค อสม. จนท ผู้ DOT 6. M&E รายงานผลการดำเนินงาน และตัวชี้วัดประจำเดือน โปรแกรม TBCM online กำหนดรูปแบบรายงานที่กระชับ นำเสนอประเด็นเสนอแนะ