การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Brain- Based Learning ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 สาขาการขาย.
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบการจำลอง การอ่านค่าเวอร์เนียคาลิปเปอร์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ระดับชั้น ปวช.1.
เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กฎหมายพาณิชย์
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชางานฝึกฝีมือ เรื่องงานร่างแบบด้วยมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 แผนกช่างอุตสาหกรรม ปีการศึกษา.
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางปัจณี บุญส่งสวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ

การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาแผนกการบัญชีระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อัตราส่วนตรีโกณมิติ ที่เรียนด้วยการสอนแบบ STAD และการเรียนรู้เป็นรายบุคคล ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 ที่เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียน โดยใช้การจัดลำดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีเกษมสันต์บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ รูปแบบใหม่ STAD Triangle 3D และ การจัดการเรียนรู้แบบปกติ โดย อาจารย์ณัฐรดา กาฬภักดี

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ฉบับ พ.ศ. 2545 หมวด 22 – 24 มาตรา 4 เน้น “ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด” วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ ได้ส่งเสริมให้นักศึกษามีความมุ่งมั่นในการด้านการเรียนเพื่อให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูง และมีศักยภาพ จึงได้กำหนดหลักเกณฑ์การจัดห้องเรียน โดยเรียงตามคะแนนเฉลี่ย GPA โดยมีการจัดแบ่งห้องเรียนเป็นห้องคัด(เกรด) และห้องคละ(เกรด) ซึ่งจากประสบการณ์สอนที่ผ่านมาผู้สอนพบว่า ห้องที่คัดเกรด จะมีผลการเรียนที่ดีกว่า ห้องเรียนคละเกรด

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา จากสาเหตุดังกล่าว ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษากระบวนการสอน “แบบกลุ่ม” เพื่อช่วยให้ผู้เรียนที่มีผลการเรียนค่อนข้างน้อย-ปานกลาง พัฒนาขีดความสามารถด้านการเรียนให้เต็มศักยภาพ STAD Triangle 3D เกิดมาจากแนวคิดในการพัฒนา การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD เพื่อขจัดปัญหาการไม่มีส่วนร่วมของสมาชิกที่มีจำนวนมากเกินไป ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD Triangle 3D และการสอนแบบปกติ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอนโดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ รูปแบบใหม่ STAD Triangle 3D

เก่ง ดี มีสุข STAD Model STAD Triangle 3D Model 3 D D 1 = Development The Development of the learning Process การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ The Development analysis of thinking Process การพัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์ D 2 = Distribution of Knowledge การกระจายความรู้ (ความมีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน) D 3 = Democracy การมีประชาธิปไตย การยอมรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่นการปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่นทำให้สามารถ ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เก่ง ดี มีสุข

ระเบียบวิธีวิจัย ประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 แผนกการบัญชี กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3/1 และ 3/2 แผนก การบัญชี ซึ่งได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling กลุ่มทดลอง ปวช. 3/1 ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบ ใหม่ STAD Triangle 3D กลุ่มควบคุม ปวช. 3/2 ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เนื้อหา วิชาการบัญชีอุตสาหกรรมฯ เรื่อง รายการปรับปรุงและกระดาษทำการกิจการอุตสาหกรรม

ตัวแปรที่ต้องการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัย ตัวแปรที่ต้องการศึกษา ตัวแปรต้น 1. การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ รูปแบบใหม่ STAD Triangle 3D 2. การเรียนรู้แบบปกติ ตัวแปรตาม 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนแบบร่วมมือรูปแบบ ใหม่ STAD Triangle 3D

1 2 3 การจัดการเรียนการสอน STAD Triangle 3D ผู้สอนให้ความรู้ ผู้สอนวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินผล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3

1 1 2 2 3 การจัดการเรียนการสอน แบบปกติ ผู้สอนให้ความรู้ ทดสอบความรู้ความเข้าใจ ก่อนใช้การเรียนรู้แบบปกติ 1 การเรียนรู้แบบปกติ 1 ทดสอบความรู้ความเข้าใจ หลังใช้การเรียนรู้แบบปกติ การทำงาน เป็นกลุ่ม 2 2 การอภิปราย ผู้สอนวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประเมินผล 3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ผลการวิจัย ตารางที่ 1 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือรูปแบบใหม่ STAD Triangle 3D และการจัดการเรียนรู้ แบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง n k ก่อนเรียน หลังเรียน MD SMD1-MD2 t X1 S1 X2 S2 กลุ่มทดลอง 35 20 8.66 3.25 13.31 4.23 4.66 0.727 3.1819** กลุ่มควบคุม 43 11.98 4.22 14.67 3.46 2.34 **t(.05 ; df 76) = 1.9927

ผลการวิจัย ตารางที่ 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ รูปแบบใหม่ STAD Triangle 3D ด้านที่ 1 เก่ง (D1 : Development)

ผลการวิจัย ตารางที่ 3 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ รูปแบบใหม่ STAD Triangle 3D ด้านที่ 2 ดี (D2 : Distribution of Knowledge)

ผลการวิจัย ตารางที่ 4 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ รูปแบบใหม่ STAD Triangle 3D ด้านที่ 3 มีสุข (D3 : Democracy)

สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD Triangle 3D และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ ก่อนเรียนและหลังเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการสอนโดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ รูปแบบใหม่ STAD Triangle 3D มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ที่เรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน ว่านักศึกษาทั้ง 3 กลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างไร ในการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือ STAD Triangle 3D กับการสอนแบบปกติ ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป ควรมีการเปรียบเทียบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD Triangle 3D นำไปสอนเปรียบเทียบกับวิธีสอนอื่นๆ ในเนื้อหาเดียวกันและชั้นเดียวกัน เพื่อเป็นการส่งเสริมและหาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ต่อไป