กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์ งานของผู้บริหาร ศพก. / แปลงใหญ่ / ส.ป.ก. / จ้างแรงงาน 2. งานตามนโยบาย เร่งรัดการบรรจุข้าราชการและพนักงานราชการ ปรับปรุง Career Path ปรับปรุงโครงสร้างองค์กร (M2) จัดตั้งโครงการเพิ่มใหม่ เปลี่ยนตำแหน่งนายช่าง เป็น วิศวกร ขอกำหนดตำแหน่ง O3 ภายใต้ M1 สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์ 1. งานตามภารกิจ 3. งานพัฒนาบุคลากร พัฒนาแหล่งน้ำ บริหารจัดการน้ำ การจัดรูปที่ดิน การป้องกันภัยอันเกิดจากน้ำ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เปิด SWOC ประชาสัมพันธ์เชิงรุก 4. งานพัฒนาองค์กร
โครงการคลองระบายน้ำหลากบางบาล - บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แม่น้ำเจ้าพระยาช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีลักษณะเป็น คอขวด สามารถระบายน้ำได้ประมาณ 1,200 ลบ.ม./วินาที การผันน้ำทางคลองบางหลวงและคลองบางบาลไปออกทางแม่น้ำน้อย สามารถระบายได้ประมาณ 530 ลบ.ม./วินาที รวมปริมาณน้ำที่สามารถระบายได้ 1,730 ลบ.ม./วินาที ทำให้ประสบปัญหาอุทกภัยซ้ำซากตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ระบายผ่านคลองบางหลวงและคลองบางบาล 530 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำน้อย คลองบางหลวง (400) ระบายผ่านแม่น้ำเจ้าพระยาจุดแคบสุด 1,200 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางบาล (130) จ.พระนครศรีอยุธยา คลองระบายน้ำหลากบางบาล-บางไทร (1,200) ระบายผ่านคลองระบายน้ำหลาก 1,200 ลบ.ม./วินาที แม่น้ำน้อย ระบายผ่านแม่น้ำเจ้าพระยาสูงสุด 3,500 ลบ.ม./วินาที การก่อสร้างโครงการคลองระบายน้ำหลากบางบาล-บางไทร เพื่อผันน้ำเลี่ยงตัวเมืองพระนคร ศรีอยุธยา โดยสามารถระบายน้ำได้สูงสุด 1,200 ลบ.ม./วินาที ซึ่งเมื่อรวมกับขีดความสามารถในการระบายน้ำที่มีอยู่เดิม จะสามารถระบายน้ำได้รวมทั้งหมด 2,930 ลบ.ม./วินาที อ.บางไทร ปี 2560 ปี 2561-62 ปี 2562-66 สำรวจ – ออกแบบ / จัดหาที่ดิน เริ่มการก่อสร้าง
ประเด็นเสนอเพื่อพิจารณา โครงการคลองระบายน้ำหลากบางบาล - บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถานภาพของโครงการ ๑) ผ่านความเห็นชอบจาก กนช. ๓ ครั้ง โดยครั้งล่าสุดเมื่อคราวประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ 2) การศึกษาความเหมาะสมโครงการแล้วเสร็จเมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๕๗ ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการสำรวจ-ออกแบบคลองระบายน้ำหลากบางบาล-บางไทร พร้อมอาคารประกอบ โดยจะแล้วเสร็จในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ และจะสามารถเริ่มดำเนินการก่อสร้างโครงการได้ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ ประเด็นเสนอเพื่อพิจารณา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขอเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติในหลักการในการเตรียมความพร้อมโครงการ เพื่อกรมชลประทานจะได้ดำเนินการ ดังนี้ ๑) กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ๒) งานเตรียมการเบื้องต้น ๓) การปักหลักเขตชลประทานและกระบวนการจัดหาที่ดิน โดยเมื่อมีความพร้อมในด้านต่างๆ แล้ว จะได้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขออนุมัติเริ่มดำเนินการก่อสร้างโครงการอีกครั้งหนึ่ง โดยคาดว่าจะสามารถเริ่มการก่อสร้างได้ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒
โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรีอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ขั้นตอนการดำเนินงาน กรณีโครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรีอันเนื่องมาจากพระราชดำริ วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๓ ครม. มีมติ มอบหมายให้กรมชลประทานดำเนินการหาแนวทางป้องกันน้ำท่วมจังหวัดจันทบุรี และจังหวัดใกล้เคียง วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๐ ครม.มีมติอนุมัติในหลักการให้ดำเนินการโครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรี ในเรื่องแบบรูปและรายการก่อสร้าง การใช้ที่ดิน การแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้แล้วเสร็จก่อน แล้วนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติเปิดโครงการ อีกครั้งหนึ่ง วันที่ 7 เมษายน 2552 ครม.อนุมัติให้กรมชลประทาน ดำเนินการก่อสร้างโครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรี (แผนระยะที่ ๒) จังหวัดจันทบุรี