นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
Advertisements

ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อผู้วิจัย นางดวงใจ สารภี อาจารย์กลุ่มวิชาบัญชี
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
เอื้อมพร ธาตุทำเล.
การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการใช้โปรแกรมสำนักงานของผู้เรียนอาชีวศึกษา
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่

การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ WIMOL BUSINESS ADMINISTRATION TECHNOLOGICAL COLLEGE ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักการ เขียนโปรแกรม บนระบบปฏิบัติการ.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนให้เป็นผู้มีวินัย
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
 จัดเตรียมแรงงานคุณภาพ ให้ตรงตามความต้อง ของภาคอุตสาหกรรม  จำเป็นต้องพัฒนาให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถปฏิบัติได้จริง  หลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับฝีมือ.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนโดย การชมนิทรรศการในงาน BBC’s Educa Talent Contest 2014 ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขางานภาษาต่างประเทศ.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โดย นางสาววิมลรัตน์ ยอดคำแปง
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ PAYAPTECHNOLOGICAL AND BUSINESS COLLEGE ชื่องานวิจัย การศึกษาความพึงพอใจ ในการเรียนรู้รายวิชาไมโครโพรเซสเซอร์ ผ่านชุดทดลอง Arduino ของนักศึกษาสาขาอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม EL301

ที่มาและความสำคัญของปัญหา เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้สำเร็จการศึกษาให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานอย่างแท้จริง โดยผู้ที่สำเร็จการศึกษาต้องมีคุณภาพ มีความรู้ ทักษะในวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจได้เน้นสส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติของนักศึกษาทางวิทยาลัยจึงให้นักศึกษาเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติเป็นสำคัญ กระบวนการเรียนการสอนผ่านสื่อชุดทดลอง microcontroller Arduino

วัตถุประสงค์ เพื่อฝึกนักศึกษาให้มีความรับผิดชอบในการทำงานมากยิ่งขึ้น สำหรับนักศึกษา นักศึกษาห้อง EL301 สาขาอิเล็กทรอนิกส์ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ เพื่อศึกษาการปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงานของนักศึกษาห้อง EL301 สาขาอิเล็กทรอนิกส์ โดยการใช้การเสริมแรงทางบวก

กรอบแนวคิดตัวแปรการวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ความกระตือรือล้น ความรับผิดชอบ ความพึงพอใจของผู้เรียน แนวทางพัฒนาโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้

ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตเนื้อหา ประชาการ/กลุ่มตัวอย่าง การศึกษาความพึงพอใจ ในการเรียนรู้รายวิชาไมโครโพรเซสเซอร์ ผ่านชุดทดลอง Arduino ประชาการ/กลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาจํานวน 18 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย 3 ตอน ตอนที่ 1 เป็นการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไป ซึ่งเป็นแบบตรวจสอบรายการ ( Cheek list ) ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการทำความเข้าใจเนื่อหาวิชา การหาคุณภาพของแบบสอบถาม นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความตรง (validity) ของเนื้อหาในแบบสอบถาม ได้ค่าสัมประสิทธิ์ความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.937

ผลการวิเคราะห์/ตารางที่สำคัญ ตารางแสดง ขนาดประชากร

ตารางแสดง ความพึงพอใจ ในการเรียนรู้รายวิชาไมโครโพรเซสเซอร์ ผ่านชุดทดลอง Arduino ของนักศึกษาสาขาอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม EL301 รายการประเมิน S.D ระดับ ชุดทดลองมีความทันสมัย 2.57 0.50 น้อย ชุดทดลองมีความน่าสนใจ 3.04 0.74 ปานกลาง ชุดทดลองมีแบบฝึกหัดให้ทดลองหลากหลาย 3.75 1.04 มาก

ตารางแสดง ความพึงพอใจ ในการเรียนรู้รายวิชาไมโครโพรเซสเซอร์ ผ่านชุดทดลอง Arduino ของนักศึกษาสาขาอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม EL301 รายการประเมิน S.D ระดับ ชุดทดลองมีความยากง่ายเหมาะสม 3.18 0.77 ปานกลาง การเรียนรู้ผ่านชุดทดลองทำให้ผลการเรียนดีขึ้น 3.00 0.72 ชุดทดลองมีคู่มืออธิบายที่ชัดเจน 2.43 0.57 น้อย

ตารางแสดง ความพึงพอใจ ในการเรียนรู้รายวิชาไมโครโพรเซสเซอร์ ผ่านชุดทดลอง Arduino ของนักศึกษาสาขาอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม EL301 รายการประเมิน S.D ระดับ ชุดทดลองมีส่วนประกอบให้ครบถ้วน 2.46 0.51 น้อย ชุดทดลองมีคำแนะนำสำหรับแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น 2.36 0.49 การเรียนรู้ผ่านชุดทดลองทำให้น่าสนใจเรียนมากขึ้น 3.11 0.69 ปานกลาง นักศึกษามีการนำบทเรียนไปประยุกต์ต่อ 2.71 0.66

สรุปผลการวิจัย จากการตอบแบบสอบถามจะพบได้ว่า นักศึกษามีความพึงพอใจมากเรื่องชุดทดลองมีแบบฝึกหัดให้ทดลองหลากหลาย โดยมีค่าเฉลี่ย 1.04 และมีความพึงพอใจปานกลางได้แก่ ชุดทดลองมีความน่าสนใจ มีค่าเฉลี่ย 0.74 ชุดทดลองมีความยากง่ายเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย 0.77 การเรียนรู้ผ่านชุดทดลองทำให้ผลการเรียนดีขึ้น มีค่าเฉลี่ย 0.72 การเรียนรู้ผ่านชุดทดลองทำให้น่าสนใจเรียนมากขึ้น มีค่าเฉลี่ย 0.69 นักศึกษามีการนำบทเรียนไปประยุกต์ต่อ มีค่าเฉลี่ย 0.66 มีความพึงพอใจน้อยได้แก่ ชุดทดลองมีความทันสมัย มีค่าเฉลี่ย 0.50 ชุดทดลองมีคู่มืออธิบายที่ชัดเจน มีค่าเฉลี่ย 0.57 ชุดทดลองมีส่วนประกอบให้ครบถ้วน มีค่าเฉลี่ย 0.51 ชุดทดลองมีคำแนะนำสำหรับแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น มีค่าเฉลี่ย 0.49

การนำผลการวิจัยไปใช้ นักศึกษาส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่า ชุดทดลองยังขาดคู่มือและคำอธิบายการแก้ไขปัญหา ที่อาจเกิดขึ้น แก้ปัญหา โดยการจัดทำคู่มือที่ตรงตามความสนใจและหัวข้อที่นักศึกษามักทำความเข้าใจได้ยาก รวมถึงหัวข้อที่เมื่อนักศึกษาทำการทดลองแล้วเกิดปัญหาขึ้นบ่อยๆ

ข้อเสนอแนะ จากข้อค้นพบในการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำผลมาใช้เป็นข้อมูล เพื่อเสนอแนะในการพัฒนา การทำความเข้าใจเนื่อหาวิชาไมโครโพรเซส ด้วยชุดทดลอง Arduino เซอร์ของนักศึกษาห้อง EL301 สาขาอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ ในครั้งต่อไปอาจจะนำการวิจัยนี้ไปใช้กับนักศึกษากลุ่มอื่นของวิทยาลัยฯ ได้ และจะได้นำผลการวิจัยที่ได้ไปแก้ไข ปัญหาในการเรียนของนักศึกษาต่อไป

รูปแบบการเรียนการสอน

บรรณานุกรม ทฤษฎีความรับผิดชอบ www.polpacon7.ru.ac.th/download/article/a_02/il.doc. ผศ.วินัย เพชรช่วย.การจูงใจในการทำงาน, 2552: http://www.oocities.org/vinaip /knowledge/wmotive01.htm สุรกิจ วงศ์คําปิ น.(2552).พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจที/ลงทะเบียนเรียน ใน รายวิชา 52-207 หลักการบัญชีเบื้องต้น ในภาคการศึกษาที่ 2/2551. อารยา อินทร์จันทร์.(2548).การปรับพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบของนักศึกษาชั้น ปวส. 2 แผนกวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิโดยการสอนแบบร่วมแรงร่วมใจ.