ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐น. ณ ห้องประชุมม่วนอกม่วนใจ๋ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ณ วันที่ 30 มิถุนายน ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง.
สำนักส่งเสริมการป้องกันสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ คุณภาพ การให้บริการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงเกี่ยวกับ.
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ณ 31 พฤษภาคม
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
กาฬสินธุ์ ว่าง สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
สรุปผลความก้าวหน้า การเบิกจ่ายงบประมาณ พ. ศ จังหวัดชุมพร.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
ผังองค์กรกลุ่มงานประกันสุขภาพ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐-๑๖.๐๐น. ณ ห้องประชุมม่วนอกม่วนใจ๋ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

โครงการงบพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๐ โครงการพัฒนาหน่วยกู้ชีพจังหวัดเชียงใหม่ วงเงิน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านห้าแสนบาทถ้วน) mou เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๖๐ มอบให้ อบต.สบโขง อำเภอแม่แจ่ม ได้รับงบประมาณเพิ่ม ๑ คัน

งบพัฒนาจังหวัด ปี ๒๕๖๑ โครงการพัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๖๑ โครงการพัฒนางานการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ วงเงิน ๗,๒๕๐,๐๐๐ บาท (เจ็ดล้านสองแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) ตัวชี้วัด หน่วยนับ ปี ๒๕๕๙แผน (ผล)* ปี ๒๕๖๐ แผน   ปี ๒๕๖๑ 1. มีรถพยาบาลขับเคลื่อน ๔ ล้อ พร้อมอุปกรณ์กู้ชีพ ให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับตำบลอย่างเต็มรูปแบบ ในพื้นที่เป้าหมายเพิ่มขึ้น คัน ๓ ๑ ๒. มีรถพยาบาลพร้อมอุปกรณ์กู้ชีพ (รถตู้ Ambulance) ๐ ๓. มีอุปกรณ์กู้ชีพสำหรับหน่วยกู้ชีพขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น ชุด ๑๐ ๕ ๔. มีเครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจ (AED) เครื่อง ๕. จัดซื้อเครื่อง EKG Moniter สำหรับใช้ในรถพยาบาลส่งต่อผู้ป่วย

งบสพฉ. ๑.โครงการปิด Gap ปี ๕๙ วงเงิน ๖๐๐,๐๐๐ บาท ๑.๑ จัดประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการแข่งขันการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ( EMS Rally ) ๒๑๖,๐๐๐ บาท (ดำเนินการแล้ว)

๑.๒จัดอบรมเชิงปฏิบัติการฟื้นฟู หลักสูตร การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน จำนวน ๑๒ รุ่น ๒๖๘,๘๐๐ บาท รุ่น วัน/เดือน/ปี สถานที่ จำนวน 1 21 พฤศจิกายน 2559 ห้องประชุมโรงพยาบาลจอมทอง อำเภอจอมทอง 70 คน 2 13 ธันวาคม 2559 สนามกีฬาเทศบาลตำบลสันผักหวาน อำเภอหางดง 80 คน 3 14 ธันวาคม 2559 อ่างเก็บน้ำห้วยตึงเฒ่า ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม 60 คน 4 15 ธันวาคม 2559 5 16 ธันวาคม 2559 76 คน 6 ห้องประชุมเทศบาลตำบลบ่อหลวง อำเภอฮอด 63 คน 7 20 ธันวาคม 2559 ห้องประชุมเทศบาลตำบลหนองผึ้ง อำเภอสารภี 72 คน 8 21 ธันวาคม 2559 วัดห้วยเกี๋ยง ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย 68 คน 9 23 ธันวาคม 2559 ห้องประชุมโรงพยาบาลแม่แตง อำเภอแม่แตง 10 27 ธันวาคม 2559 ห้องประชุมเทศบาลตำบลสันกำแพง อำเภอสันกำแพง 77 คน 11 9 มกราคม 2560 ห้องประชุมโรงพยาบาลแม่อาย อำเภอแม่อาย 69 คน 12 10 มกราคม 2560 13 11 มกราคม 2560 ห้องอาคารวัดเขื่อนผาก อำเภอพร้าว 73 คน   รวมทั้งสิ้น 898 คน (ดำเนินการแล้ว)

๑.๓ ประชาสัมพันธ์ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน /หมายเลข 1669 ๑๑๕,๒๒๐ บาท (ยังไม่ได้ดำเนินการ)

๒.โครงการ : โครงการนำร่องการจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อความ ปลอดภัยของนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ จำนวนเงิน ๔๔๔,๐๐๐ บาท ๒.๑ อบรมเชิงปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน หลักสูตรวิทยากร ครู ๖๐คน (ดำเนินการแล้ว) ๒.๒ อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้และทักษะการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ๖๐๐ คน (จำนวน ๑๐ รุ่นๆละ ๑ วัน) ให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสถานที่ท่องเที่ยว/โรงแรมในจังหวัดเชียงใหม่ (อยู่ระหว่างดำเนินการ) ๒.๓ ค่าจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 1669 เป็นเงิน ๑๘๐,๐๐๐ บาท (ยังไม่ได้ดำเนินการ)

อยู่ระหว่างดำเนินการ (๑-๓มี.ค.๖๐) ๓.โครงการปิด Gap ปี 60 : โครงการพัฒนาศักยภาพการแพทย์ฉุกเฉินและส่งต่อผู้ป่วยวิกฤติจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐บาท ๓.๑ จัดประชุมแพทย์อำนวยการทบทวนการปฏิบัติทางอากาศยานระหว่าง รพ.มหาราช, นครพิงค์ ร่วมกับหน่วยบินที่เกี่ยวข้องจำนวน ๕ ครั้ง (อยู่ระหว่างดำเนินการ) ๓.๒จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานเครือข่ายบริการสุขภาพเขตที่ ๑ หลักสูตร ๒ วัน (๑๕-๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๐) ๓.๓จัดอบรมศักยภาพให้ความรู้ด้านทฤษฎี เสริมสร้างทัศนคติและฝึกปฏิบัติการเทคนิคการขับรถอย่างปลอดภัย หลักสูตร ๓ วัน จำนวน ๖๐ คน อยู่ระหว่างดำเนินการ (๑-๓มี.ค.๖๐)

ยอดยกมาจากปี 59 + on Top จำนวนเงิน ๔๐๖,๙๔๒ บาท ๔.โครงการพัฒนาการฝึกอบรมด้านการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ๔.๑จัดประชุมวิชาการพัฒนาศักยภาพหัวหน้างานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินและผู้รับผิดชอบงานการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ (ดำเนินการแล้ว) ๔.๒อบรมเชิงปฏิบัติการการเป็นวิทยากรหลักสูตร การปฐมพยาบาลและช่วยปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน หลัก สูตรวิทยากรครู ข. 60 คน (หลักสูตร 2 วัน) (๒๓-๒๔มี.ค.๖๐)

๔.๓ อบรมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนแนวทางการลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศยานเขตบริการสุขภาพที่๑(ดำเนินการแล้ว) ๔.๔ จัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกอบรม (ดำเนินการแล้ว) เครื่องช่วยสาธิตการกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า 2 เครื่อง หุ่นสำหรับฝึกการปั๊มหัวใจ (หุ่นสำหรับ CPR) พร้อมกระเป๋า 2 จ้างเหมาผู้ประสานงาน/ธุรการงานการแพทย์ฉุกเฉิน

โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๖๐จำนวน ๑,๓๙๘,๔๑๒ บาท ๑.๑ จัดประชุมคณะอนุกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ๑ ครั้ง (ยังไม่ได้ดำเนินการ) ๑.๒ จัดประชุมคณะทำงานการแพทย์ฉุกเฉิน /หัวหน้าห้องฉุกเฉิน/ผู้รับผิดชอบงานการแพทย์ฉุกเฉินระดับอำเภอ (ดำเนินการแล้ว) ๑.๓ กิจกรรมรณรงค์เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ๑.๔ จัดประชุมวิชาการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการและเตรียมความพร้อมระบบการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ (ยังไม่ได้ดำเนินการ) ๑.๕ จัดประชุมวิชาการ พัฒนาคุณภาพห้องฉุกเฉิน (ยังไม่ได้ดำเนินการ) ๑.๖ โอนให้รพ.นครพิงค์ ๕๐๐,๐๐๐บาท (ดำเนินการแล้ว) ๑.๗ อบรม EMR ๓ รุ่น (เก็บค่าลงทะเบียน) (อยู่ระหว่างดำเนินการ)

สรุป ๖,๓๔๙,๓๕๔ แหล่งงบประมาณ ชื่อโครงการ จำนวนเงิน รวม งบพัฒนาจังหวัด พัฒนาหน่วยกู้ชีพจังหวัดเชียงใหม่ ๑,๕๐๐,๐๐๐ x ๒ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท งบสพฉ. ปิด Gap ปี ๕๙ โครงการพัฒนาศักยภาพระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ๖๐๐,๐๐๐ บาท งบสพฉ.(พิเศษ) โครงการนำร่องการจัดระบบการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อความ ปลอดภัยของนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ ๔๔๔,๐๐๐ บาท งบสพฉ.ยอดยกมาจากปี 59 + on Top โครงการพัฒนาการฝึกอบรมด้านการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ๔๐๖,๙๔๒ บาท งบสพฉ.ปิด Gap ปี 60 โครงการพัฒนาศักยภาพการแพทย์ฉุกเฉินและส่งต่อผู้ป่วยวิกฤติจังหวัดเชียงใหม่ ๕๐๐,๐๐๐ บาท งบสพฉ งบปกติ ปี๖๐ โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๖๐ ๑,๓๙๘,๔๑๒ บาท รวม ๖,๓๔๙,๓๕๔

ตัวชี้วัดตรวจราชการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ร้อยละของโรงพยาบาล F 2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ (มาตรฐาน 12 ด้าน) ร้อยละ 60 ของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ( 40 % ) ร้อยละของER คุณภาพใน รพ..ระดับ F 2 ขึ้นไป อัตราความสำเร็จในการช่วยฟื้นคืนชีพของผู้ป่วย หัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล (OHCA) ร้อยละ25ของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ ( 30 % ) ร้อยละของEMS คุณภาพใน รพ. ทุกระดับ ๑.อัตราส่วนของผู้ป่วย Fast Track ที่มาด้วยระบบ EMS (มากกว่าร้อยละ 60) -Stroke -STEMI -SEVERE HEAD INJURY -TRAUMA ๒.ความครอบคลุมของหน่วยบริการ (มากกว่าร้อยละ 80) ๓.การให้บริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (มากกว่าร้อยละ 90)

ความก้าวหน้าในการดำเนินการ ตัวชี้วัด EMS คุณภาพ (ข้อตกลงจ.เชียงใหม่) เป้าหมาย ปี2559 ปี 2560 (ไตรมาส 1) ๑.อัตราส่วนของผู้ป่วย Fast Track ที่มาด้วยระบบ EMS -Stroke -STEMI -SEVERE HEAD INJURY -TRAUMA ร้อยละ 60 21.43 9.86 83.33 63.64 22.0 31.64 78.39 65.51 ๒.ความครอบคลุมของหน่วยบริการ ร้อยละ 80 78.3 80.47 ๓.การให้บริการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90 85.67 84.80

ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ลำดับ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ผลงาน ปี ๒๕๕๙ (ครั้ง) เป้าหมาย ปี ๒๕๖๐ ผลงาน ปี ๒๕๖๐ (ไตรมาส ๑) ร้อยละ ๑ จำนวนครั้งการปฏิบัติการฉุกเฉิน ของชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐาน ในแต่ละจังหวัด ที่บันทึกในระบบ ITEMS ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๙๕.๕ ของค่าเป้าหมายการออกปฏิบัติการ ในปี ๒๕๖๐ ที่ สพฉ.กำหนด ๓๕,๙๑๑ ๓๘,๔๒๕   ๙,๕๑๒ ๒๔.๘