หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

System Requirement Collection (2)
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด.
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การเขียนโครงร่างวิจัย
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)

ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
โดย วราภรณ์ ประพงษ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
หลักการ เบื้องต้น ของการใช้สถิติ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง

กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษร บริหารธุรกิจ จังหวัดระยอง จังหวัดระยอง ชื่อผู้วิจัย / สถาบัน นายวัชรพล พรมโคตร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบของ นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางาน คอมพิวเตอร์กราฟิค วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การออกแบบ การวิจัย.
งานวิจัยเพื่อจบหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต (บช.ม.) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 การออกแบบการวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง ดร.สุนันทา รักพงษ์

(Research Process Cycle) การกำหนดปัญหาวิจัย ทบทวนวรรณกรรม คำถามวิจัย/ วัตถุประสงค์การวิจัย นิยาม/เครื่องมือ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานและประเมินการวิจัย วัฎจักรการวิจัย (Research Process Cycle)

หลักการพื้นฐานในการออกแบบวิจัยเชิงทดลอง (MAX MIN CON) DV IV EV MAX : Systematic Variance MIN : Error Variance CON : Extraneous Variance

หลักข้อ 1. Max Systematic Variance การเพิ่มความแปรปรวนของการทดลองให้มากที่สุด วิธีการ ทำให้ความแปรปรวนของ DV (Dependent Variable) เกิดจาก IV (Independent Variable) เงื่อนไข ทำให้ตัวแปรต้นแตกต่างกันมากที่สุดหรือกำหนดวิธีการทดลองให้กับกลุ่มทดลองและควบคุมให้แตกต่างกัน ตัวอย่าง : วิธีสอน (IV) ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (DV) เพิ่มความแปรปรวนโดยใช้วิธีสอนที่แตกต่างกันมากๆ

ภาพวิธีการสอนต่างๆ การสอนแบบปกติ การสอนแบบฝึกปฏิบัติ

ชนิดของความคลาดเคลื่อน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น หลักข้อ 2. Minimized Error Variance ลดความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อน ชนิดของความคลาดเคลื่อน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การแก้ไข ความคลาดเคลื่อนอย่างมีระบบ (Systematic error) มีผลต่อกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ความบกพร่องของเครื่องมือวัด สร้างเครื่องมือวัดให้มี ความตรงและความเที่ยงสูง ความคลาดเคลื่อนอย่างสุ่ม (Random error) มีผลต่อกลุ่มตัวอย่างบางส่วน ความเหนื่อย การเดาของผู้ถูกทดลอง อารมณ์ สุขภาพร่างกาย ใช้กฎการแจกแจงปกติ (Normal Distribution Law) คำนวณทางค่าสถิติ

หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance การควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน การขจัดออกจากการศึกษาวิจัย การสุ่ม (Randomization) การนำเข้ามาทำการศึกษาวิจัย (Add to the design) การจับคู่ (Matching) การใช้วิธีการทางสถิติ (Statistical control)

หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance วิธีที่ 1 การขจัดตัวแปรแทรกซ้อนออกจากการวิจัย ตัวอย่าง : การศึกษาอิทธิพลของวิธีสอนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิธีสอน ความคิดสร้างสรรค์ STEM 5E ระดับสติปัญญา ตัวแปรแทรกซ้อน ข้อจำกัด : ไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปยังกลุ่มนักเรียนที่มีระดับสติปัญญาแตกต่างกันได้

หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance วิธีที่ 2 การนำเข้ามาทำการศึกษาวิจัย (Add to the design) ตัวอย่าง : การศึกษาอิทธิพลของวิธีสอนที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ วิธีสอน ความคิดสร้างสรรค์ ระดับสติปัญญา แบบแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียลแบบมีตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปร ระดับสติปัญญา วิธีสอน STEM 5E สูง กลุ่ม 1 กลุ่ม 3 ต่ำ กลุ่ม 2 กลุ่ม 4

หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance วิธีที่ 3 การสุ่ม (Randomization) ประชากร เลือกตัวอย่างด้วยวิธีสุ่ม ตัวอย่าง การกำหนดตัวอย่าง เข้ากลุ่มด้วยวิธีสุ่ม กลุ่มวิธีทดลองที่ 1 กลุ่มวิธีทดลองที่ 2 กลุ่มวิธีทดลองที่ n

หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance วิธีที่ 4 การจับคู่ (Matching) กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ได้จากการจับคู่ ตัวแปรอิสระ การสอนแบบ STEM การสอนแบบ 5E คู่ที่ 1 S1a S1b คู่ที่ 2 S2a S2b คู่ที่ 3 S3a S3b … เลือกจับคู่กลุ่มตัวอย่างตามตัวแปรแทรกซ้อนที่มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามสูง

กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน STEM กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน 5E หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance ตัวอย่าง : แบบแผนการทดลอง แบบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่ได้จากการจับคู่ (Matching) โดยใช้คะแนน I.Q. ต้องการทดสอบสมมุติฐานว่า วิธีสอนแบบ STEM จะส่งผลให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าแบบ 5E การจัดกลุ่มตัวอย่าง ทำได้โดยใช้ระดับสติปัญญา (I.Q.) ที่เท่ากัน โดยวิธีสุ่ม กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน STEM กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน 5E คนที่ คะแนน I.Q. 2 120 1 3 110 4 6 100 5 7 8 10 90 9 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ใช้การสอนแบบ STEM เท่ากับ 5 คน กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ใช้การสอนแบบ 5E เท่ากับ 5 คน

กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน STEM กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน 5E หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance ตัวอย่าง : แบบแผนการทดลอง แบบกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่ได้จากการจับคู่ (Matching) โดยใช้คะแนน I.Q. ต้องการทดสอบสมมุติฐานว่า วิธีสอนแบบ STEM จะส่งผลให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์สูงกว่าแบบ 5E ผลคะแนนความคิดสร้างสรรค์ กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน STEM กลุ่มที่ใช้วิธีการสอน 5E คนที่ ความคิดสร้างสรรค์ 2 65 1 60 3 50 4 55 6 5 48 7 8 46 10 45 9 40 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ใช้การสอนแบบ STEM ผลคะแนนสูงกว่ากลุ่มที่ 2 ที่สอนแบบ 5E สูงกว่าอย่างนาเชื่อถือหรือไม่…หาคำตอบโดยใช้สถิติทดสอบ ค่าที แบบ dependent samples

หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance วิธีที่ 5 การควบคุมด้วยวิธีทางสถิติ (Statistical control) การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (Analysis of covariance : ancova) Y X1 X2 X1 แทน ตัวแปรอิสระ (Ex. วิธีสอน) X2 แทน ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรร่วม (EX. สติปัญญา) Y แทน ตัวแปรตาม (Ex. ความคิดสร้างสรรค์) สีแดง แทน ความแปรปรวนใน Y พื้นที่ที่มีจุด แทน ความแปรปรวนส่วนที่เหลือ

หลักข้อ 3. Control of Extraneous Variance ตัวอย่าง : ทดลองวิธีสอนแบบ STEM กับ 5E กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม โดยมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ เป็นตัวแปรตาม (Y) และ I.Q. เป็นตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรร่วม (X) การเตรียมตารางสำหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวน กลุ่มตัวอย่างที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ 2 คะแนน I.Q. (X) คะแนนความคิดสร้างสรรค์ (Y) 110 50 109 65 100 41 47 99 45 95 130 70 132 35 107 62 49

หลัก MAX MIN CON ความเที่ยงตรงภายใน (Internal Validity) หลัก MAX MIN CON เป็นหลักทางสถิติ (Statiscal Principle) ที่ใช้เป็นกลไกการออกแบบการวิจัย เชิงทดลอง ทำให้แบบแผนวิจัยมีประสิทธิภาพ สามารถหาคำตอบปัญหาวิจัย ควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรตามต้องการ ความเที่ยงตรงภายใน (Internal Validity) ความเที่ยงตรงภายนอก (External Validity)

ขอบคุณค่ะ