งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ

2 หัวข้อบรรยาย ความหมายและประเภทสถิติอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่างสถิติพาราเมตริกซ์และสถิตินันพาราเมตริกซ์ สถิติและหลักการเลือกใช้สถิติความแตกต่างของค่าเฉลี่ย สถิติและหลักการเลือกใช้สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวแปร

3 Inferential Statistics Parametric statistics Non-parametric
สถิติอ้างอิง Inferential Statistics Parametric statistics Non-parametric

4 ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความแปรปรวนไม่เท่ากัน
t-test One sample Two samples Independent ความแปรปรวนเท่ากัน ความแปรปรวนไม่เท่ากัน Dependent ANOVA One way ANOVA Two ways ANOVA

5 เงื่อนไขการใช้สถิติทดสอบค่าที
1. ข้อมูลแจกแจงแบบโค้งปกติ (Normal Distribution) 2. ตัวแปรตามมีค่าต่อเนื่อง 3. กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มโดยใช้หลักการความน่าจะเป็น 4. ขนาดตัวอย่างไม่เล็กมาก ซึ่งขนาดตัวอย่างไม่ควรน้อยกว่า 30 คน 5. ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มควรมีขนาดเท่ากันหรือไม่ต่างกันมากนัก

6 ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน ตรงตามเงื่อนไขของสถิติพาราเมตริกซ์
วัตถุ ประสงค์ จำนวนกลุ่ม จำนวน ตัวแปร ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้ เปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย 1 กลุ่ม ตัวแปรตาม 1 ตัวแปร - ตรงตามเงื่อนไขของสถิติพาราเมตริกซ์ One Sample t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเชาวน์ปัญญาของกลุ่มตัวอย่างกับค่ามาตรฐาน

7 ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้
วัตถุ ประสงค์ จำนวนกลุ่ม จำนวน ตัวแปร ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้ เปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม สัมพันธ์กัน ตัวแปรตาม 1 ตัวแปร - ตรงตามเงื่อนไขของสถิติพาราเมตริกซ์ Paired sample t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการให้สิ่งทดลอง

8

9 Independent VS Dependent
E R O X O2 C R O O4 รองศาสตราจารย์. ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร

10 Independent ชาวไทย X1 ชาวต่างชาติ X2
รองศาสตราจารย์. ดร. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร

11 ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้
วัตถุ ประสงค์ จำนวนกลุ่ม จำนวน ตัวแปร ควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อน เงื่อนไข สถิติที่ใช้ เปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม เป็นอิสระจากกัน ตัวแปรตาม 1 ตัวแปร - ตรงตามเงื่อนไขของสถิติพาราเมตริกซ์ Two sample Independent t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเชาวน์ปัญญาระหว่างเพศชายและเพศหญิง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม

12 Levene’s test for equality variances
เป็นสถิติทดสอบความแปรปรวนของข้อมูล ≥2 ชุด การพิจารณาว่าข้อมูล 2 ชุด มีความแปรปรวนเท่ากัน (12 = 22 ) หรือข้อมูล 2 ชุด มีความแปรปรวนไม่เท่ากัน (12  22 ) พิจารณาจากค่า F ค่า F ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ หมายความว่า ความแปรปรวนของข้อมูล 2 ชุด เท่ากัน ให้อ่านค่า t บรรทัดที่ตรงกับ Equal variance assumed ค่า F มีนัยสำคัญทางสถิติ หมายความว่า ความแปรปรวนของข้อมูล 2 ชุด ไม่เท่ากัน ให้อ่านค่า t บรรทัดที่ตรงกับ Equal variance not assumed

13 ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ความแปรปรวนไม่เท่ากัน
t-test One sample Two samples Independent ความแปรปรวนเท่ากัน ความแปรปรวนไม่เท่ากัน Dependent ANOVA One way ANOVA Two ways ANOVA

14 เงื่อนไขการใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน
1. ข้อมูลแจกแจงแบบโค้งปกติ 2. ตัวแปรตามมีค่าต่อเนื่อง ตัวแปรอิสระมีค่าในมาตรวัดนามมาตรา และมี 2 ระดับ ขึ้นไป เช่น ตัวแปรศาสนามี 3 ระดับ ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม เป็นต้น 4. กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น 5. ความแปรปรวนของประชากรแต่ละกลุ่มต้องเท่ากัน

15 ประเภทการวิเคราะห์ความแปรปรวน
การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance) การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two Ways Analysis of Variance) การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายทาง (Multi-Ways Analysis of Variance)

16 การเปรียบเทียบพหุ (Multiple Comparison)

17 Newman-keuls Test, Turkey’s HSD และ Duncan’s เหมาะสำหรับในกรณีที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากัน และสัมประสิทธิ์ของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ที่ทดสอบมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม (Pairwise) LSD เหมาะสำหรับในกรณีที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มไม่เท่ากันและสัมประสิทธิ์ของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ที่ทดสอบมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม (Pariwise)

18 Scheffe’ ใช้ได้ทั้งในกรณีที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และสัมประสิทธิ์ของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ที่ทดสอบมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม (Pairwise) และเป็นเลขเศษส่วน (Complex) Bonferroni ใช้ได้ทั้งในกรณีที่ขนาดตัวอย่างในแต่ละกลุ่มเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และสัมประสิทธิ์ของค่าเฉลี่ยระหว่างคู่ที่ทดสอบมีค่าเป็นเลขจำนวนเต็ม (Pairwise) เป็นวิธีที่ช่วยลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1 (Type I Error)

19 สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
1 ตัวแปรต้น 1 ตัว ตัวแปรตาม 1 ตัว(Simple Correlation) 2 ตัวแปรต้น 2 ตัวหรือมากกว่า ตัวแปรตาม 1 ตัว (Multiple Regression Analysis)

20 Simple Correlation X1 X2 Y X3 X4

21 Multiple Correlation X1 X2 Y X3 X4

22 Pearson’s Product Moment Correlation
Simple Correlation 1 Pearson’s Product Moment Correlation 2 Spearman Correlation 3 Point Biserial Correlation 4 Chi-square

23 ต้องการทราบระดับความสัมพันธ์ Phi Coefficient Cramer’s V
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม สถิติ ค่าต่อเนื่อง ช่วงมาตรา อัตราส่วนมาตรา สหสัมพันธ์เพียร์สัน -ทราบทิศทาง -ทราบระดับความสัมพันธ์ ค่าไม่ต่อเนื่อง อันดับมาตรา สหสัมพันธ์สเปียร์แมน -ทราบทิศทาง, ทราบระดับความสัมพันธ์ นามมาตรา 2 ระดับ สหสัมพันธ์พอยท์ไบซีเรียล นามมาตรา ไคสแควร์ - ไม่ทราบทิศทาง -ไม่ทราบระดับความสัมพันธ์ ต้องการทราบระดับความสัมพันธ์ Phi Coefficient Cramer’s V


ดาวน์โหลด ppt สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google