นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๘ อุดรธานี ประสบการณ์ : การขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการ สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เขตบริการสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์ สราวุธ เอกอำพัน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มพัฒนาวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๘ อุดรธานี
Try Out Implement ปี 1 Implement ปี 3 Implement ปี 2 2555 2556 2557 2558 2559 2560 Kick Off Try Out ไม่เน้นการดำเนินการ เพื่อรางวัลฯ // ส่งเสริม Best Practice Implement ปี 1 Implement ปี 3 Implement ปี 2 การจัดบริการอาชีวอนามัย ครบวงจร
รูปแบบ…การขับเคลื่อนโครงการฯ เขต 9 นครชัยบุรินทร์ Team Work 4M Network
บทบาท/หน้าที่ของ สคร. ประสานงานและพัฒนาความร่วมมือระหว่างหน่วยงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องในระดับต่าง เช่น กรม คร. , ศูนย์สุขภาพจิตที่ 9, ศูนย์อนามัยที่ 9, จังหวัดในเขตฯ, หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชี้แจงและสนับสนุน สสจ./จังหวัด เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมย์ของโครงการฯ 3. ให้การสนับสนุน/ความร่วมมือทางด้านวิชาการแก่หน่วยงาน สธ.เขต, ระดับจังหวัด, สปก. / ว.ชุมชน 4. ร่วมเป็นคณะกรรมการในการตรวจประเมินสถานประกอบการ/ว.ชุมชน มอบใบประกาศฯ เมื่อผ่านเกณฑ์การประเมินฯ 6. รวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน เพื่อวางแผนฯ
ประสาน พัฒนาและสนับสนุน สสจ. เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมย์ของโครงการฯ บทบาท/หน้าที่ของ สสจ. ประสาน ชี้แจง คัดเลือก และสนับสนุน สถานประกอบการในเขตพื้นที่รับผิดชอบเพื่อเข้าร่วมโครงการ (เป็นพี่เลี้ยงหน่วยงานในสังกัด – สปก.) ประสานงานขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สนง.อุตสาหกรรมจังหวัด สนง.สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เป็นต้น แต่งตั้งคณะกรรมการและตรวจประเมินการสถานประกอบการ/ว.ชุมชน ร่วมมอบใบประกาศฯเมื่อผ่านเกณฑ์การประเมิน รวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน เพื่อวางแผนฯ
รูปแบบการดำเนินงานของโครงการฯ ปี 2557 - 2558 - 2559 ปี 2557 - 2558 - 2559 ระบบการตรวจประเมิน สถานประกอบการ สมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ 1 ทีมพี่เลี้ยง : สสจ. พี่เลี้ยงแนะนำการดำเนินงานตามเกณฑ์การพัฒนาของโครงการฯ 2 ทีมตรวจประเมิน ระดับจังหวัด : สคร./ศูนย์อนามัยเขต/ศูนย์สุขภาพจิตเขต *สำนักส่งเสริมและพัฒนา การเกษตร 6 เขต สถานประกอบการประเมินตนเอง คะแนนน้อยกว่า 60% พัฒนาตนเองต่อ คะแนนตั้งแต่ 60% ยื่นเรื่องประเมินระดับจังหวัด 3 ทีมตรวจประเมิน ระดับประเทศ : Envocc/NCD/กรมอนามัย/ กรมสุขภาพจิต *อายุการรับรองมาตรฐาน 3 ปี
สปก./ว.ชุมชน ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ Self Assassment พี่เลี้ยง (สธ. + ผู้เกี่ยวข้อง) พัฒนาให้คำแนะนำ Pre audit สปก + พี่เลี้ยง สปก./ว.ชุมชน ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ ประเมินเพื่อขอรับรองในระดับจังหวัด ประเมินเพื่อขอรับรองในระดับเขต/ประเทศ
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน สธ. Facilitator, Coach Auditor
ต้นทุน สถานประกอบการพี่เลี้ยง ส่วนที่ 3 เกณฑ์ปลอดภัย ผ่านการประเมินโครงการต่างๆ เข่น Healthy Workplace SHE ISO9001 ISO14001 TTSI18001 โรงงานสีขาว ส่วนที่ 3 เกณฑ์ปลอดภัย เติมเต็มในงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ 2 เกณฑ์ปลอดโรค วิเคราะห์ข้อมูลการตรวจสุขภาพประจำปี นำมาจัดกิจกรรม Health Promotion ส่วนที่ 4 กายใจเป็นสุข ต้นทุน เติมเต็มในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (หน่วยย่อยที่ 4.2) ส่วนที่ 1 การสนับสนุนองค์กร การมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน การใส่ใจสุขภาพและสิ่งแวดล้อมระหว่างองค์กรและชุมชน
สถานประกอบการทั่วไป ยังไม่ได้ดำเนินการรับรอง มาตรฐานใดๆ ส่วนที่ 1 การสนับสนุนองค์กร การมีส่วนร่วม ชุมชน ส่วนที่ 2 เกณฑ์ปลอดโรค ส่วนที่ 3 เกณฑ์ปลอดภัย ส่วนที่ 4 กายใจเป็นสุข ซิลิก้า - แร่ใยหิน - ตะกั่ว Silicosis - Asbestosis - Lead Poisoning
การจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร มี 6 ขั้นตอน การจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร มี 6 ขั้นตอน A 1.สถานประกอบการมีทีมงาน/ผู้ที่รับผิดชอบในการชี้บ่งและประเมินความเสี่ยง 2.วิเคราะห์ผลการประเมินและวางแผนการดำเนินงาน 3.ดำเนินการป้องกัน ควบคุมการเกิดผลกระทบของความเสี่ยง 4.ส่งต่อไปยังสถานพยาบาล/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.ประเมินผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน (Return to work) 6.ติดตามและประเมินผล เพื่อทบทวนการดำเนินงาน P C D
การพัฒนาต่อยอด สปก.กลุ่มเสี่ยงสูงเข้าสู่ โครงการสถานประกอบการปลอดโรคฯ หน่วยงานเครือข่าย. บริการอาชีวอนามัยครบวงจร กระบวนการการพัฒนา โครงการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ระดับพื้นฐาน + ระดับพัฒนา วิสาหกิจชุมชน ว.ก้าวหน้า ว.ทั่วไป ระดับพื้นฐาน + ระดับพัฒนา ส่วนที่ 2 เกณฑ์ปลอดโรค ส่วนที่ 1 การสนับสนุนองค์กร การมีส่วนร่วม ชุมชน ส่วนที่ 3 เกณฑ์ปลอดภัย ส่วนที่ 4 กายใจเป็นสุข
ระดับการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน จำแนกตามเป้าหมายของผลผลิตของกิจการได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ ระดับพื้นฐาน ได้แก่ วิสาหกิจที่มีการประกอบการเพื่อให้เกิดผลผลิตหรือการให้บริการที่จะนำไปใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค มุ่งเน้นการลดรายจ่าย การประหยัดและออม เพื่อให้ดำรงชีวิตได้อย่างพออยู่พอกิน ทั้งระดับครัวเรือน ชุมชน และระหว่างชุมขน ระดับพัฒนา ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนที่มีการประกอบการเพื่อให้เกิดผลผลิตหรือการให้บริการเพื่อการลดรายจ่าย และมีส่วนเหลือสามารถนำไปแบ่งปัน แลกเปลี่ยนหรือจำหน่ายให้เกิดรายได้เพิ่ม หรือมีทุนเพิ่มในการประกอบการอันนำไปสู่การ อยู่ดีกินดี ของครัวเรือน ชุมชนและระหว่างชุมชน ระดับก้าวหน้า ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนที่มีการประกอบการทั้งภาคการผลิตและการบริการมุ่งการเพิ่มรายได้ไปสู่การขยายการลงทุน ลดการนำเข้า เพื่อการส่งออกของผลิตภัณฑ์ ขยายกิจการ ขณะเดียวกันก็สามารถจัดสรรผลกำไร เพื่อสวัสดิการของชุมชน หรือเพื่อกิจกรรมสาธารณประโยชน์ สร้างความมั่งมีศรีสุข ของครัวเรือน ชุมชน ขยายไปถึงระหว่างชุมชน และนำไปสู่การเป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขยาดย่อมต่อไป
การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการ (สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข) ปี 2557 วัตถุประสงค์ / 1. พัฒนาศักยภาพให้คณะกรรมการระดับเขต/จังหวัดสามารถตรวจประเมินรับรองสถานประกอบกิจการตามมาตรฐานฯ และสามารถสนับสนุนวิชาการแก่สถานประกอบกิจการตามมาตรฐานฯ ได้อย่างถูกต้อง 2. จัดตั้งคณะกรรมการระดับเขตในการดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 3. การสนับสนุนการจัดตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดและเครือข่ายในการดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 4. รับรองสถานประกอบกิจการ/วิสาหกิจชุมชนตามแนวทางฯ ผลผลิต 60 คน 1 คณะ 3 คณะ สมัครฯ 70 แห่ง / ผ่านเกณฑ์ 22 แห่ง
การสนับสนุนการพัฒนาความร่วมมือ และสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพในสถานประกอบการ (วัยทำงาน) ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เขตบริการสุขภาพที่ 9 ปี 2558 วัตถุประสงค์ / 1. เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการสถานประกอบ (วัยทำงาน) การปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ให้เข้าถึงสถานประกอบกิจการในจังหวัดเขตบริการสุขภาพ 2. เพื่อพัฒนาการดำเนินงานตามโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุขแก่สถานประกอบการที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ ในจังหวัดเขตฯ 3. เพื่อตรวจประเมินรับรองสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ในจังหวัดเขตฯ ผลผลิต 986 แห่ง 4 จังหวัด สมัครฯ 155 แห่ง / ผ่านเกณฑ์ 22 แห่ง โล่ทอง 3 แห่ง / โล่เงิน 2 แห่ง
การพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจประเมินมาตรฐานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี 2558 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้มีความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่สอดคล้องกับการเป็นผู้ประเมิน (Auditor) ตามมาตรฐานกระทรวงอุตสาหกรรมของประเทศไทย (มอก.19011 แนวทางการตรวจประเมินระบบการจัดการ) เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้สามารถประเมินรับรองมาตรฐานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 3 ระบบงานโครงการ ได้แก่ 1.) แนวทางการให้บริการอาชีวอนามัยสำหรับสถานบริการสุขภาพ 2.) คลินิกเกษตรกร และ 3.) สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการ (สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข) ปี 2559 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้สถานประกอบการได้รับข้อมูล/เข้าถึงโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข และสมัครเข้าร่วมโครงการฯ 2. เพื่อสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการมีการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. เพื่อตรวจประเมินรับรองสถานประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการตามแนวทางการดำเนินงานสถานประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
จำนวนสถานที่ทำงาน/สถานประกอบการ (แห่ง) สรุปจำนวนและร้อยละของสถานประกอบการที่เข้าถึง/ได้รับข้อมูลการดำเนินงานของโครงการสถานที่ทำงาน/สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ปีงบประมาณ 2558 (+2557) จำแนกรายจังหวัด จังหวัด จำนวนสถานที่ทำงาน/สถานประกอบการ (แห่ง) เป้าหมายจังหวัดละ 20 แห่ง จำนวนสถานประกอบการที่เข้าถึง/ได้รับข้อมูลจริง (แห่ง) ร้อยละ จำนวนสถานประกอบการ (แห่ง) จำนวนวิสาหกิจชุมชน (แห่ง) รวมทั้งหมด (แห่ง กลุ่มที่ 1 สปก.พี่เลี้ยง กลุ่มที่ 2 สปก.ทั่วไป กลุ่มที่ 3 วิสาหกิจชุมชน รวมทั้งหมด นครราชสีมา 7,744 1,511 9,255 20 43 30 23 96 480.0 ชัยภูมิ 1,730 1,091 2,821 1 5 26 130.0 บุรีรัมย์ 1,665 2,260 3,925 12 6 4 22 110.0 สุรินทร์ 1,161 1,618 2,779 11 55.0 เขตฯ 9 12,300 6,480 18,780 80 38 155 193.75 ข้อมูล ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2558
จำนวนสถานที่ทำงาน/สถานประกอบการ (แห่ง) สรุปจำนวนและร้อยละของสถานประกอบการที่สมัครเข้าร่วมโครงการสถานที่ทำงาน/สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ปีงบประมาณ 2558 (+2557) จำแนกเป็นรายจังหวัด จังหวัด จำนวนสถานที่ทำงาน/สถานประกอบการ (แห่ง) จำนวนสปก.ที่ต้องได้รับข้อมูล (ร้อยละ 5 ตามเป้าหมาย แห่ง) จำนวนสถานประกอบการที่เข้าถึง/ได้รับข้อมูลจริง (แห่ง) ร้อยละการเข้าถึง/ได้รับข้อมูลจริง จำนวนสถานประกอบการ (แห่ง) จำนวนวิสาหกิจชุมชน (แห่ง) รวมทั้งหมด (แห่ง กลุ่มที่ 1 สปก.พี่เลี้ยง กลุ่มที่ 2 สปก.ทั่วไป กลุ่มที่ 3 วิสาหกิจชุมชน รวมทั้งหมด นครราชสีมา 7,744 1,511 9,255 463 367 109 25 501 5.41 ชัยภูมิ 1,730 1,091 2,821 141 106 110 5 221 7.83 บุรีรัมย์ 1,665 2,260 3,925 196 102 23 4 129 3.29 สุรินทร์ 1,161 1,618 2,779 139 18 7 135 4.86 เขตฯ 9 12,300 6,480 18,780 939 685 260 41 986 5.25
ประจำปี 2558 (+ 2557) แยกรายจังหวัด จำนวนสถานประกอบการที่ได้รับรางวัลโครงการสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข ประจำปี 2558 (+ 2557) แยกรายจังหวัด จังหวัด รางวัลระดับ รวม (แห่ง) ดี (แห่ง) ดีมาก ดีเยี่ยม(แห่ง) โล่เงิน (แห่ง) โล่ทอง (แห่ง) นครราชสีมา 4 3 9 2 16 ชัยภูมิ 6 - บุรีรัมย์ สุรินทร์
ปัจจัยหนุนเสริม เครือข่ายในระดับจังหวัด/พื้นที่จังหวัด โดยเฉพาะหน่วยงานสังกัด ก.สธ. ทุกระดับ สำนักโรคฯ ศูนย์วิชาการเขตฯ สสจ. /รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. ให้ความร่วมมือดีมาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบางจังหวัด มีการนำเอาค่าเป้าหมายของโครงการฯ กำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับจังหวัด สร้างความมั่นใจ โดยการทำความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาตามข้อกำหนดสถานประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข โดยการประชุมชี้แจง/อบรมเกณฑ์เป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ สถานประกอบการ วิสาหกิจชุมชน เข้าร่วมโครงการฯ และมีการพัฒนาตนเองจนผ่านเกณฑ์การตรวจประเมินรับรองตามาตรฐาน
ปัจจัยหนุนเสริม (ต่อ) แนวทางการดำเนินงานตามข้อกำหนดสถานประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข เป็นเครื่องมือที่กลุ่มเป้าหมายสามารถพัฒนางานได้ด้วยตนเอง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่เป็นพี่เลี้ยง สถานประกอบการในระดับพี่เลี้ยง มองเห็นว่ามีบางส่วนที่เป็นเกณฑ์ใหม่ คือ ปลอดโรค และสุขภาพจิต โดยเฉพาะเกณฑ์สุขภาพจิตเป็นเกณฑ์ที่ท้าทายและน่าสนใจมาก สถานประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนที่ผ่านการตรวจประเมินรับรองฯ ตามข้อกำหนด ได้รับใบประกาศเชิดชูเกียรติ
ข้อสังเกตุ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบางแห่งได้รับการอนุมัติโครงการฯ ในช่วงกลางไตรมาส 3 ของปีงบประมาณ ทำให้ผู้รับผิดชอบไม่สามารถดำเนินกิจกรรมงานที่สอดคล้องกับกิจกรรมการขับเคลื่อนโครงการในภาพเขตฯ ยังมีสถานประกอบกิจการหลายแห่ง ยังไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการฯ เช่น การสมัครเข้าร่วมโครงการฯ ประโยชน์ที่ได้รับ เป็นต้น วัฒนธรรมการทำงานของแต่ละจังหวัดมีความแตกต่างกัน
โอกาสทอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในส่วนใหญ่ของพื้นที่ ไม่มีประสบการณ์ในการประสานงานกับทางสถานประกอบกิจการ และมองว่าการทำงานกับสถานประกอบกิจการโดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมจำเป็นต้องมีองค์ความรู้เฉพาะด้าน เช่น อาชีวอนามัย การตรวจโรงงาน เป็นต้น
สิ่งสำคัญที่อยากให้เกิดขึ้น น่าจะมีการประชาสัมพันธ์ในช่องทางสื่อโทรทัศน์, Website, ป้าย Cut Out เพิ่มจำนวนรอบการอบรม auditor, Facilitator เป็นประจำทุกปีและต่อเนื่อง สนับสนุนสื่อ-อุปกรณ์และงบประมาณในการดำเนินงานในปี 2559 เพื่อดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
สิ่งสำคัญที่อยากให้เกิดขึ้น น่าจะมีทบทวนและปรับปรุงเกณฑ์ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพของกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะวิสาหกิจชุมชน เกณฑ์แนวทางในการพัฒนาตามข้อกำหนดฯ ของวิสาหกิจชุมชน มีจำนวนตัวชี้วัดมากไป และไม่เหมาะสมกับวิสาหกิจชุมชนที่มีการรวมตัวกันไม่กี่คน เพียงเพื่อทำการค้าร่วมกันภายในชุมชน มีการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่มีภาระกิจคล้ายคลึกกันระหว่างหน่วยงาน ก.สธ. กับหน่วยงานภายนอก ก.สธ.
การดำเนินงานฯ ของ สคร. A P C D
ขอบคุณครับ