แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ประเด็น การพัฒนาบุคลากร ประเด็น ตรวจราชการ ขั้นต อน ที่ 1 ขั้นต อน ที่ 2 ขั้นต อน ที่ 3 ขั้นต อน ที่ 4 ขั้นต อน ที่
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ปี 2560
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1.กิจกรรมหัวเราะโลก ปีที่ 2 (วันอาทิตย์ที่ 1 พ.ค.2559)
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ โครงการพัฒนาการคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board :DHB) จังหวัดเชียงราย เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด เป้าหมาย : คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) ที่มีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม KPI: 1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอทุกอำเภอ 2) ร้อยละ 50 ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) ที่มีประสิทธิภาพ (จำนวน 9 อำเภอ) สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2559 มี DHB = 2 อำเภอ (เมือง เชียงของ) ปี 2560 = 2 อำเภอ ( แม่ลาว พญาเม็งราย ) จากการสรุปบทเรียนทั้ง 4 อำเภอ พบปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จดังนี้ 1) การคัดเลือก สรรหา คณะกรรมการฯที่เป็นตัวแทนของหน่วยงานได้จริง 2) การสร้างความเข้าใจ เพื่อให้เห็นเป้าหมายร่วมกัน 3) มีกลไกที่ทำหน้าที่ให้ข้อมูล สร้างการเรียนรู้ ( DHML) 4) การจัดทำแผนงานโครงการในประเด็นที่ทุกหน่วยงานมีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม 5) การวัดผลลัพธ์เชิงปริมาณและคุณภาพ 6) การจัดการความรู้ 7) ความต่อเนื่องและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ มาตรการ 1.สร้างกลไกขับเคลื่อนที่เชื่อมโยงระบบบริการ ปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (DHS) 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภออย่างมีส่วนร่วม 3. เสริมสร้างศักยภาพ DHB อย่างมั่นคงและยั่งยืน กิจกรรมหลัก 1.แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ อำเภอ (District Health Board : DHB) ตามระเบียบสานักนายกฯ 2.สนับสนุนและส่งเสริมการแต่งตั้งคณะกรรมการฯ DHB อย่างโปร่งใส เป็นธรรมและมีส่วนร่วมทั่วถึง ทุกภาคส่วน 3.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการที่ประกอบด้วยภาคีสุขภาพเพื่อออกแบบการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอเชื่อมโยง DHB กับชุมชนท้องถิ่น ( ตำบล หมู่บ้าน ครอบครัว ) 1.จัดประชุมแบบมีส่วนร่วมเพื่อวิเคราะห์ปัญหา/ประเด็นพัฒนา นำมาคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2.จัดทำแผนดำเนินการพัฒนา/แก้ไขปัญหาสำคัญตามบริบทในพื้นที่ เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่างน้อย 2 เรื่อง 3. ดำเนินการตามแผนดำเนินงานพัฒนา/แก้ไขปัญหาสำคัญตามบริบทในพื้นที่ เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4. สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานพัฒนา/แก้ไขปัญหาสำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 5. .จัดทำนโยบายสาธารณะหรือวาระอำเภอการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างน้อย 2 เรื่อง 1.เสริมสมรรถนะคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ 2.เสริมสมรรถนะ คกก. อนุกรรมการฯด้วยกระบวนการ (District Health System Management Learning :DHML ) 3.ดำเนินการบริหารจัดการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ แบบบูรณาการและมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 4.ประเมินผลการดำเนินงานการพัฒนา/แก้ไขปัญหาสำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้วย UCCARE 5.สรุปผลการดำเนินงาน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชื่นชมและเสริมพลัง 6..สนับสนุนและส่งเสริมให้การช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในอำเภอเป็นบทบาทสำคัญเพื่อให้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมท้องถิ่น 7. วิจัยและพัฒนาหารูปแบบ DHB ที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 1.การแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับอำเภอ (District Health Board : DHB) 2.การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระบบสุขภาพอำเภอ ไตรมาส 2 มีแผนการดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาตามบริบทแบบมีส่วนร่วม อย่างน้อย 2 ประเด็น/อำเภอ ไตรมาส 3 มีการดำเนินการ การบริหารจัดการ สร้างกลไก และพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการบูรณาการ อย่างมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ไตรมาส 4 1.มีการสรุปผลการดำเนินการทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโดยกระบวนการชื่นชมและ เสริมพลังแก่ DHB ที่มีประสิทธิภาพร้อยละ 50 2. มีองค์ความรู้ DHB อย่างน้อย 1 เรื่อง 3.มีนโยบายสาธารณะหรือวาระอำเภออย่างน้อย 2 เรื่อง