แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD คปสอ. ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ให้บริการ 1. คัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยง.
แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
NCDs การจัดทำแผนงาน ปี สิงหาคม 2560.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Service Plan : NCD) นพ.สมเกียรติ โพธิสัตย์ ที่ปรึกษา กรมการแพทย์

กรอบยุทธศาสตร์ ”สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย” 2554-63

กรอบยุทธศาสตร์ ”สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย” 2554-63 นโยบายสาธารณะสร้างสุข การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ การพัฒนาศักยภาพชุมชน การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการโรค (Surveillance & Care System) 1. พัฒนากลไกการขับเคลื่อนทางสังคม ผ่านการสื่อสารสาธารณะ และระบบเครือข่าย ให้ประชากรไทยมีความตระหนักและสามารถจัดการดูแลตนเองและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี 2. สร้างนโยบายสาธารณะ ที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรค ในประชาชน 3. สนับสนุนให้มีโครงการในชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันควบคุมเบาหวาน 4. พัฒนาและสนับสนุนระบบบริการให้มีความครอบคลุม และสามารถเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ในเรื่องของการป้องกันควบคุม และการจัดการเบาหวาน (สปสช. รับผิดชอบ) 5. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถบริหารจัดการองค์ความรู้ ในเรื่องของการป้องกันควบคุมเบาหวาน 6. สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้และการวิจัยในเรื่องของการป้องกันควบคุมเบาหวาน 7. พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลเบาหวาน การพัฒนาศักยภาพผู้นำและบุคลากร องค์ความรู้ และระบบบริหารจัดการ

http://phdb.moph.go.th/ewtadmin/ewt/hss_dq/mainpic/file_type/pdf

สาเหตุของโรคเรื้อรัง โรคเรื้อรังหลัก โรคหลอดเลือด หัวใจ สมอง มะเร็ง โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง เบาหวาน ปัจจัยกำหนดทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม โลกาภิวัฒน์ ความเป็นชุมชนเมือง สังคมสูงอายุ ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนได้ อาหารไร้สุขภาพ กิจกรรมทางกายน้อย สูบบุหรี่ สภาวะเสี่ยงร่วม ความดันเลือด สูง น้ำตาลในเลือด ไขมันในเลือด ผิดปกติ น้ำหนักเกิน Click to edit Master text styles Second level Third level Fourth level Fifth level ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนไม่ได้ อายุ กรรมพันธุ์ The causes of the main chronic disease epidemics are well established and well known. The most important modifiable risk factors are: unhealthy diet and excessive energy intake; physical inactivity; tobacco use. These causes are expressed through the intermediate risk factors of raised blood pressure, raised glucose levels, abnormal blood lipids (particularly low density lipoprotein – LDL – cholesterol), and overweight (BMI ≥ 25) and obesity (BMI ≥ 30). The major modifiable risk factors, in conjunction with the non- modifiable risk factors of age and heredity, explain the majority of new events of heart disease, stroke, chronic respiratory diseases and some important cancers. 7

In fact, these four risk factors are common to many chronic diseases. Although, in the past, we have tended to focus our efforts on chronic disease strategies e.g. stroke, diabetes, this slide illustrates the importance of focusing on addressing the risk factors that contribute to the onset and progression of disease. http://www.gbhn.ca/ebc/documents/CDPMFrameworkpresentationtoolkitPowerpoint Confidential Draft

ปรับระบบการดูแลโรคเรี้อรัง จาก เน้นความเจ็บไข้ ไม่ได้ให้ความสำคัญการป้องกันโรค แยกส่วน รายโรค ผู้ให้บริการเป็นศูนย์กลางการดูแล ตั้งรับ เป็นครั้งๆ ดูแลตนเองน้อย พึ่งพาระบบการดุแลรักษา เป็น เน้นสุขภาพ การป้องกันในทุกจุดของกระบวนการดูแลโรคเรื้อรัง รวมทีม สหวิชาชีพ ผู้ป่วย(ผู้คน) เป็นศูนย์กลางการดูแล รุก ต่อเนื่อง เสริมพลังในการพึ่งพาตนเอง ระบบ รวมถึง สถานบริการ บุคคล ครอบครัว ชุมชน http://www.gbhn.ca/ebc/documents/CDPMFrameworkpresentationtoolkitPowerpoint Confidential Draft

วัตถุประสงค์ ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรอง วินิจฉัย ดูแลรักษาตามเกณฑ์ที่ก าหนด เข้าถึงบริการได้ครอบคลุมด้วยความรวดเร็ว ใกล้บ้าน มีการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพและทักษะของผู้ให้บริการ ได้สอดคล้องกับปัญหาของแต่ละเขตสุขภาพ

Service Plan

อะไรที่ทำให้สุขภาพประชาชนดีหรือไม่ดี ระบบสาธารณสุข 25% Addressing the risk factors is only half the battle. When we look even deeper, we know that health status is not just about the care that is provided by the health system. In fact, the health system accounts for only 25% of health status. Using a population based approach, in which the determinants of health are addressed, will help us achieve better outcomes in CDPM. If we are going to improve the health of the population we also need to take into consideration the Determinants of Health, such as the social and economic conditions that impact peoples ability to be healthy, and respond to health system interventions. สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม 50% http://www.gbhn.ca/ebc/documents/CDPMFrameworkpresentationtoolkitPowerpoint Confidential Draft

กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบควบคุมป้องกัน ดูแลรักษา จัดการภาวะแทรกซ้อนDM/HT 3rd 2nd 1st จัดการดูแลผู้ป่วยยุ่งยากซับซ้อน, พัฒนา, รับปรึกษา Morbidity Mortality QoL. Cost-effectiveness วินิจฉัย, ดูแลรักษา, คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ให้สุขศึกษา, คัดกรอง, ประสานชุมชน, ดูแลรักษาเบี้องต้น Health Care Service Delivery

กรอบแนวคิด รูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเเบบบูรณาการ ลดวิถีชีวิตเสี่ยง ลดการเกิดโรค ลดการเข้าอยู่ใน รพ. ลดความพิการ เพิ่มคุณภาพชีวิต ประชากรทั้งหมด ความเสี่ยงต่ำ ความเสี่ยงสูง มีสัญญาณผิดปกติ เป็นโรค มีอาการ มีสภาวะแทรกซ้อน พิการ สร้างเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในสิ่งแวดล้อม ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ป้องกันและชลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ลดความรุนแรงของ ภาวะแทรกซ้อน ป้องกันการเพิ่มขึ้น ของประชากรที่มีปัจจัยเสี่ยง การจัดการรายกลุ่ม การจัดการราย บุคคล

เสริมกลไก จัดทรัพยากร และสภาพแวดล้อมชุมชน เสริมกลไกจัด การออกแบบระบบบริการ Delivery System Design ระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ Decision Support การจัดระบบข้อมูล Clinical Information System การสนับสนุนการจัดการตนเอง Self-Management Support การเชื่องโยงกับชุมชน Community linkage ปรับทิศ และเป้าองค์กรสุขภาพ เสริมกลไก จัดทรัพยากร และสภาพแวดล้อมชุมชน เสริมกลไกจัด สภาพแวดล้อมสนับสนุน หุ้นส่วน พร้อม ปฏิบัติการ เสริมสร้าง สมรรถนะ ชุมชน สร้างนโยบาย เสริมสร้าง สาธารณะ ทีม พร้อม ปฏิบัติการ ผู้ป่วย รับข่าวสาร และตระหนัก จัดการ รับข่าวสาร ครอบครัว ชุมชน และตระหนัก จัดการ

การประเมินสถานการณ์ประชากรเป้าหมาย ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ

กรอบกระบวนการทำงานในระบบการจัดการโรคเรื้อรัง Systems Management Team กลุ่มป่วยซับซ้อน, ภาวะแทรกซ้อน จัดการรายกรณี ประสานจัดการเบาหวาน กลุ่มป่วย บริการสุขภาพ กลุ่มเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ป้องกันโรค จัดการ ดูแลตนเอง กลุ่มปกติ ประชากร 70-80% สร้างเสริมสุขภาพ (S.Potisat adapted from Pippa Hague : Chronic disease self management . 2004)

ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ หลอดเลือดสมอง ตา หลอดเลือดหัวใจ ไต เท้า

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง รพ. สต./ สอ. รพช. รพท./ รพศ. ตรวจคัดกรอง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ส่งตรวจคัดกรอง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ตรวจคัดกรอง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

รพท./รพศ. ( A, S) ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน, ซับซ้อน รับ refer รพท. ( M1) ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะแรก รับ refer รพช. (M2, F1, F2) คัดกรองภาวะแทรกซ้อน วินิจฉัย, รักษาเบื้องต้นเป็นทีปรึกษาแก่เครือข่าย มี chronic case conference เพื่อจัดการโรค รพ. สต./ ศสม. ปชส. คัดกรอง แจ้งเตือนคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ติดตามดูแลในชุมชน สร้างความร่วมมือ ส่งต่อ สนับสนุนระบบเครือข่าย กำหนดนโยบาย ประสานงาน จัดทำแนวทางการรักษาและส่งต่อ เป้าหมายผู้รับบริการ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยรายใหม่ ผู้ป่วยควบคุมได้ดี ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยซับซ้อน ----------------------------------------------------------ผู้พิการ---------------------------------------------------------

แนวทาง คู่มือปฏิบัติ

http://www.dms.moph.go.th/imrta

สวัสดี