งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
Service Profile Template สำหรับการบันทึก Service Profile ชุดนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกสำหรับทีมงานต่างๆ จะนำไปใช้บันทึกข้อมูลที่ทางทีมงานจัดทำไว้ หรือกำลังจะเริ่มจัดทำใหม่ แนวคิดสำคัญที่เป็นพื้นฐานของการออกแบบ template นี้ได้แก่ 1) การสรุปข้อมูลสำคัญในลักษณะ One Page Summary 2) การแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน และการเชื่อมโยงกับข้อมูลที่มีรายละเอียดเพิ่มขึ้น 3) ความสามารถในการเพิ่มเติมข้อมูลหรือปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย ซึ่งทำได้ง่าย 4) Service ในที่นี้อาจจะเป็นโครงสร้างในระดับใดก็ได้ เช่น OPD, OPD อายุรกรรม, คลินิกเบาหวาน ขึ้นกับเอกลักษณ์ของการทำงานของโครงสร้างดังกล่าว ที่สำคัญคือควรใช้ Core Values เรื่อง Customer Focus และ Teamwork เป็นหลักสำคัญในการกำกับวิธีคิดและการตัดสินใจ 5) ทีมในที่นี้อาจจะเป็น Clinical Lead Team, Patient Care Team หรือทีมอื่นๆ ที่ต้องการวิเคราะห์งานของตนเองอย่างเป็นระบบ ข้อความใน Notes Page เหล่านี้สามารถลบออกได้และบันทึกข้อมูลในส่วนที่เป็นคำขยายความของทีมงานเองแทน งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม

2 Service Profile :งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
บริบท 1.บริการระงับความรู้สึกผู้ป่วยทั้งการระงับความรู้สึกทั่วร่างกาย และเฉพาะที่ ทั้งผู้ป่วยในและนอกทุกสาขาตลอด 24 ชั่วโมง 2.ให้การดูแลผู้ป่วยก่อน ขณะ หลัง ระงับความรู้สึกและดูแลใน ห้องพักฟื้นจนปลอดภัยจึงนำส่งหอผู้ป่วย 3.ติดตามเยี่ยมประเมินก่อนและหลังระงับความรู้สึกและ ประสานกับทีม สหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง 4.บริการระงับความปวดทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง ข้อกำหนดวิชาชีพ มาตรฐานสภาการพยาบาล การสอบเทียบเครื่องมือ ความรู้และทักษะเจ้าหน้าที่ จุดเน้นขององค์กร เป็นศูนย์บริการการแพทย์เฉพาะทางที่มีคุณภาพและ ให้บริการแบบองค์รวม ส่งเสริมการมีสวนร่วมของภาคีเครือข่าย พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ พัฒนาสมรรถนะและคุณภาพชีวิตบุคลากร ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ : ให้บริการแบบองค์รวม ตามมาตรฐานวิชาชีพ ปลอดภัย ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน มีความพึงพอใจ ข้อมูล/ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2556 2557 2558 2559 อัตราการเยี่ยมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด 100% 100 48.12 70 72 อัตราการเยี่ยมผู้ป่วยหลังผ่าตัด 75 % 90.57 88.66 69 65 อัตราการใส่ท่อช่วยหายใจไม่ได้ ≤ 0.005 0.32 0.650 0.2 จำนวนอุบัติการณ์การใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำ ภายใน 48 ชม.หลังให้การระงับความรู้สึก (ครั้ง) 1 2 จำนวนอุบัติการณ์เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง จากการให้การระงับความรู้สึกเฉพาะส่วน 4 จำนวนอุบัติการณ์การส่งต่อผู้ป่วยเข้า ICU โดยไม่ได้วางแผน (ครั้ง) 5 3 จำนวนอุบัติการณ์ผู้ป่วยเกิดภาวะ cardiac arrest ระหว่างหรือภายใน 48 ชม.หลังการ ระงับความรู้สึก (ครั้ง) 0.12 ตัวชี้วัด ทบทวน ประเมิน เรียนรู้ Purpose : ให้บริการระงับความรู้สึกตามมาตรฐานวิชาชีพ ผู้รับบริการปลอดภัยและพึงพอใจ วัตถุประสงค์ กระบวนการหลัก ประเมินผู้ป่วยก่อนการระงับความรู้สึก ให้การระงับความรู้สึก ให้การดูแลขณะพักฟื้น เยี่ยมหลังให้การระงับความรู้สึก ความเสี่ยง/ความท้าทาย 1.Cardiac arrest 2.Dead in 24 ชั่วโมง 3.การใส่ท่อช่วยหายใจไม่ได้ 4.High/Total spinal block 5.Unplan refer 6.การเกิดภาวะaspirateและpulmonary edema 7.ความคลาดเคลื่อนทางยา โรค/หัตถการสำคัญ 1.General anesthesia 2.Regional anesthesia 3.MAC จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา พัฒนาระบบการเยียมก่อนผ่าตัด พัฒนาระบบบริการคนินิควิสัญญีให้รู้จักและตระหนักถึงความสำคัญ พัฒนาระบบPain management พัฒนาระบบการทบทวนเคสที่มีปํญหา 2


ดาวน์โหลด ppt งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google