การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Vocational Education (TQF:VEd) กับการพัฒนา กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (Vocational.
Advertisements

Project Based Learning
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
คุณภาพบัณฑิต TQF ปี 2552 คุณภาพ คุณภาพการเรียนการสอน คุณภาพนักศึกษา
Learning Outcome ด้านกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้กรอบ TQF
กิจกรรมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงานกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางผลิตบัณฑิตแพทย์รามาธิบดี
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
วิเทศสัมพันธ์เพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัย
ผศ.ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ 6 กันยายน 2556
อธิการบดี สภามหาวิทยาลัย หัวหน้าสำนักงาน งานบริหารทั่วไป
Work Shop การพัฒนาหลักสูตรสำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
ผลการ ดำเนินการด้าน การเรียนการ สอน. 1. การสรรหานักศึกษาที่มีคุณภาพดีเข้า คณะใด้มากขึ้น การลดจำนวนรับนักศึกษา ลงประมาณ 150 คน รับนักศึกษา 17 ช่องทาง คณะกรรมการดำเนินการประชาสัมพันธ์การรับ.
แผนการขับเคลื่อน กรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
1. ผศ.กิตติภูมิ มีประดิษฐ์ 2. ดร.จิตต์ภิญญา ชุมสาย ณ อยุธยา
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การจัดการความรู้ KMUTNB
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2)
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
เทคนิคการสอนและการวัดการประเมินผล
แนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาการ เรียนรู้ของบัณฑิต ที่พึงประสงค์ ตามแนวทาง TQF.
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
บนเส้นทางพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
1. 2 ความหมาย ของความพอเพียง สามห่วง สองเงื่อนไข : พอประมาณ เหตุผล ภูมิคุ้มกันที่ดี : ความรู้ คุณธรรม ความพอเพียงของมหาวิทยาลัยเป็น เป้าหมายโดยคำนึงถึงความพอเพียง.
แนวคิดและทิศทางในอนาคตของ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดย ดร. วราภรณ์ สีหนาท รองเลขาธิการคณะกรรมการการ อุดมศึกษา 16 มกราคม 2557 โรงแรมแกรนด์ปาร์ค.
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ โดย ดร.จรวยพร ธรณินทร์ กรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ( อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และ วปอ. 43 ) หลักสูตร วปอ
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
LOGO องค์กรอัจฉริยะ ผศ. ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
2nd SHARE Workshopon the Impact of Qualifications Frameworks and Learning Outcomes on Higher Education In ASEAN Curriculum Design Using the Outcome-based.
ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร/สาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2558.
ระดับหลักสูตร ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล มีนาคม 2561.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เทคนิคการบริหารหลักสูตร เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
Division of Student Affairs
วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
เส้นทางความก้าวหน้าในวิชาชีพ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
การจัดเก็บข้อมูลประกันคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2553
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
โครงการประชุมชี้แจงคณะกรรมการตรวจเยี่ยม การจัดการศึกษาระดับปริญญาเอกเชิงบูรณาการ ระบบพิชญพิจารณ์แบบมีส่วนร่วม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561.
การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
(ร่าง) ตัวบ่งชี้และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา
แผนการบริหาร คณะแพทยศาสตร์
การถอดบทเรียน แนวทางการจัดทำวิจัย เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
การดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554
ผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่าน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การวัดประเมินผลการเรียนรู้ ของนิสิต/นักศึกษาตามกรอบมาตรฐาน TQF
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา โดย ผศ.ปรานี พรรณวิเชียร

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา เป็นสิ่งมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้พัฒนาการเรียนรู้ตามกรอบ TQF 5 ด้านที่ได้รับการพัฒนาและแสดงออกถึงความรู้ ความเข้าใจและความสามารถจากการเรียนรู้เพื่อให้มั่นใจว่า เมื่อจบรายวิชานั้น ๆ หรือหลักสูตรนั้นได้มีความรู้ตามที่กำหนดไว้เป็นเงื่อนไข

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา หมายถึง การดำเนินการโดยวิธีการใด ๆ เช่น การสังเกต การตรวจสอบ การประเมิน การสัมภาษณ์เพื่อยืนยันว่า ได้มีการดำเนินการตามสิ่งที่กำหนดขึ้นและบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์

การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา เป็นการดำเนินการเพื่อให้มั่นใจได้ว่า มาตรฐานการเรียนรู้ที่คาดหวังเป็นที่เข้าใจตรงกันทั้งสถาบัน และผลการจัดการเรียนการสอนจนบรรลุผลสำเร็จนั้น ถ้าเป็นผู้ประเมินภายนอกอาจต้องการตรวจสอบว่า การทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้มีเพียงพอและเชื่อถือได้

การทวนสอบสะท้อนผลลัพธ์ดังต่อไปนี้ การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การทวนสอบสะท้อนผลลัพธ์ดังต่อไปนี้ 1. ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ในการ ปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน 2. เน้นระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละรายวิชาตามความ รับผิดชอบของหลักสูตรลงสู่แต่ละรายวิชา ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ ผู้สอนและผู้รับผิดชอบหลักสูตร 3. ผลจากการทวนสอบผลสัมฤทธิ์เน้นข้อมูลสำคัญในการวางแผน พัฒนาการเรียนการสอน การประเมินผลและประกันคุณภาพ หลักสูตร

การทวนสอบจะถูกกำหนดไว้ใน มคอ ต่าง ๆ ดังนี้ การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การทวนสอบจะถูกกำหนดไว้ใน มคอ ต่าง ๆ ดังนี้ มคอ 1 เพื่อเป็นแนวทางให้สถาบันได้พัฒนาปรับปรุงหลักสูตร มีการกำหนดการทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้ขณะนักศึกษายังไม่สำเร็จการศึกษา (ในข้อ 10 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้)

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มคอ 2 หมวดที่เกี่ยวข้องกับการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา คือ หมวดที่ 5 ข้อที่ 2 กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยอธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบในแต่ละรายวิชา เช่น จากคะแนนข้อสอบ งานที่มอบหมาย

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 1. มีคณะกรรมการทวนสอบที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิภายในและ ภายนอก 2. คัดเลือกรายวิชาทั้งทฤษฎีและปฏิบัติในทุกสาขาตามเกณฑ์การ คัดเลือกที่คณะกรรมการทวนสอบกำหนด 3. คณะกรรมการตรวจสอบผลการให้คะแนนกับข้อสอบตลอดจน งานที่ได้รับมอบหมาย

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การทวนสอบรายวิชา 1. กำหนดรายวิชาที่จะทวนสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ในแต่ละภาค การศึกษา 2. สุ่มตรวจสอบผลการให้คะแนนในแต่ละส่วนตามเกณฑ์การ ประเมินผลการเรียนรู้ใน มคอ 3 , มคอ 4 ของแต่ละรายวิชา โดย ประเมินจากคะแนนกิจกรรม ผลงาน ชิ้นงาน การประเมิน พฤติกรรม แบบทดสอบ แบบประเมินตามมาตรฐานการเรียนรู้หรือ แบบประเมินงานอื่น ๆ ที่มอบหมายของรายวิชา

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 3. ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากรายงานการเรียนรู้ใน มคอ 5 และ มคอ 6 ของอาจารย์ประจำวิชาที่จัดทำเมื่อเสร็จสิ้นภาคการศึกษา 4. สรุปผลในภาพรวมของรายวิชาทั้งหมดว่า อยู่ในระดับใด

การทวนสอบระดับหลักสูตร การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การทวนสอบระดับหลักสูตร 1. สถาบันแต่งตั้งกรรมการบริหารหลักสูตร มีผู้ทรงคุณวุฒิภายในแล ภายนอก 2. ทำหน้าที่กำหนดกระบวนการทวนสอบ ปฏิทินทวนสอบ แหล่งข้อมูลเพื่อการทวนสอบ เช่น แหล่งฝึก ผู้ใช้บัณฑิต ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ดำเนินการตามกระบวนการที่กำหนดจนทำรายงานผล

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 3. เมื่อสิ้นสุดการจัดการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา ให้ คณะกรรมการรวบรวมรายวิชาที่มีการทวนสอบมาพิจารณา เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน 4. หลักจากนั้น ได้มีการวางแผนพัฒนาปรับปรุงรายวิชาให้เป็นไป ตามความต้องการของหลักสูตรต่อไป

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา วิธีการทวนสอบ การทวนสอบโดยสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอน การทวนสอบโดยสัมภาษณ์นักศึกษา จากเอกสารต่าง ๆ

การทวนสอบผลการเรียนรู้ของนักศึกษา การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การทวนสอบผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ให้นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนในระดับรายวิชาทุกรายวิชา โดยพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบตามรายละเอียดใน มคอ 3 และ มคอ 5 ทวนสอบจำนวนโครงการที่นักศึกษาโดยดำเนินการร่วมกับอาจารย์ หรือรางวัลต่าง ๆ ที่นักศึกษาได้จากการประยุกต์ผลการเรียนรู้ใน รายวิชาที่บูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติงานจริง

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การทวนสอบจากการรวบรวมข้อมูลจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มาประเมินหลักสูตร หรือจากอาจารย์พิเศษที่มีต่อความพร้อม ของนักศึกษา การทวนสอบจากผลงานของนักศึกษาที่เน้นรูปธรรม เช่น ผลงาน นักศึกษา รางวัลของนักศึกษา กิจกรรมที่มีคุณประโยชน์

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ระบบและกลไกการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 1. อาจารย์ผู้สอนศึกษาเครื่องมือที่จะนำมาใช้ในการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์กับ มคอ 3 หรือ มคอ 4 2. อาจารย์ผู้สอนเลือกเครื่องมือที่จะนำไปใช้ในการทวนสอบ 3. อาจารย์ผู้สอนดำเนินการทวนสอบ 4. อาจารย์ผู้สอนประมวลผลและเขียนรายงาน 5. นำเสนอเป็นแนวทางปรับปรุงและสรุปใน มคอ 5 หรือ มคอ 6

ระบบและกลการทวนสอบระดับหลักสูตร การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ระบบและกลการทวนสอบระดับหลักสูตร 1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรับทราบรายงานผลการทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์จากอาจารย์ผู้สอน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 3. ศึกษาพิจารณารายงานผลการทวนสอบของอาจารย์ผู้สอนใน รายวิชา - พิจารณาหลักสูตร - เก็บข้อมูลเพิ่มเติม

การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 4. สรุปผลการทวนสอบรายงานแนวทางปรับปรุงต่ออาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 5. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร แจ้งผลและแนวทางปรับปรุงต่อ คณะและสรุปในรายงาน มคอ 7