งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
: ประสบการณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา เมฆขำ รองอธิการบดีฝ่ายแผนงานและประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วันที่ 4 ตุลาคม 2561 ณ ห้องประชุม 401 อาคารสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

2 ตัวอย่างเอกสารหลักฐาน
CONTENTS การเตรียมตัวก่อน รับการตรวจประเมิน ภายนอกรอบสี่ 1 ขั้นตอนการ รับการประเมิน ภายนอกรอบสี่ 2 3 ตัวอย่างเอกสารหลักฐาน ที่ใช้แสดง สำหรับการประเมิน ภายนอกรอบสี่ 4 ปัญหาและอุปสรรค

3 1 การเตรียมตัวก่อนรับ การประเมินภายนอกรอบสี่

4 การเตรียมตัวก่อนรับการประเมินภายนอกรอบสี่
1 การเตรียมตัวก่อนรับการประเมินภายนอกรอบสี่ 01 สมศ. เชิญเข้าร่วมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสี่ 02 สมศ. เชิญเข้าร่วมสัมมนาเพื่อรับฟังข้อมูล การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ 03 มหาวิทยาลัยจัดประชุมเตรียมความพร้อมรับ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระยะที่ 1 เพื่อชี้แจงเกณฑ์การตรวจและกำหนดผู้รับผิดชอบ

5 การเตรียมตัวก่อนรับการประเมินภายนอกรอบสี่
04 มหาวิทยาลัยตรวจสอบและปรับปรุงข้อมูล ภายในระบบสารสนเทศ เพื่อการประเมิน คุณภาพภายนอก (Automated QA) 05 สมศ. ดำเนินการแจ้งให้คณะกรรมการ ฯ ตรวจประเมินผ่านระบบสารสนเทศ เพื่อการ ประเมินคุณภาพภายนอก (Automated QA) 06 มหาวิทยาลัยจัดทำบทสรุปผู้บริหาร

6 การเตรียมตัวก่อนรับการประเมินภายนอกรอบสี่
07 มหาวิทยาลัยจัดทำแบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียม ความพร้อมของสถานศึกษาตามกรอบมาตรฐาน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ 08 มหาวิทยาลัยจัดประชุมสรุปข้อมูลเพื่อความพร้อม รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (เฉพาะหน่วยงานที่รับผิดชอบข้อมูล) 09 มหาวิทยาลัยจัดประชุมเตรียมความพร้อมรับ การตรวจเยี่ยมตามกรอบมาตรฐานการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสี่

7 2 ขั้นตอนการรับการ ประเมินภายนอกรอบสี่

8 ขั้นตอนการรับการประเมินภายนอกรอบสี่
2 ขั้นตอนการรับการประเมินภายนอกรอบสี่ 01 คณะกรรมการตรวจประเมินแบบ Online Assessment ผ่านระบบ การสื่อสารออนไลน์ Skype 02 คณะกรรมการฯ ขอให้มหาวิทยาลัยฯ ส่งข้อมูล (เพิ่มเติม) เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เบื้องต้นของสถานศึกษา (มรภ.สส. 18 รายการ) 03 คณะกรรมการตรวจประเมินฯ ลงพื้นที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และเยี่ยมชมคณะ/วิทยาลัยภายใน 8 หน่วยงาน

9 ขั้นตอนการรับการประเมินภายนอกรอบสี่
04 คณะกรรมการฯ สรุปผลการตรวจประเมินฯ เบื้องต้น และรายงานด้วยวาจาต่อผู้บริหาร 05 คณะกรรมการลงพื้นที่บริการวิชาการ ของมหาวิทยาลัยหมู่บ้านสารภี จ.สมุทรสงคราม 06 สมศ. เชิญเข้าร่วมสัมมนาเพื่อรับฟังข้อมูล การประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก ระดับอุดมศึกษา กลุ่มผู้แทนสถานศึกษา

10 ขั้นตอนการรับการประเมินภายนอกรอบสี่
07 สมศ. ปรับปรุงการพิจารณาผลการประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสี่ จาก 5 ด้าน เป็น 32 ประเด็นพิจารณา 08 คณะผู้ประเมินทำการปรับปรุงแก้ไข (ร่าง) รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 09 มหาวิทยาลัยยืนยันผลการพิจารณาผลการประเมิน โดยผ่านคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (กบม.)

11 3 ตัวอย่างเอกสารหลักฐานที่ใช้แสดง สำหรับการประเมินภายนอกรอบสี่
(กรณีที่คณะกรรมการร้องขอ)

12 ด้านที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการตามพันธกิจที่ตอบสนองต่อ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ยกตัวอย่าง เช่น แผนยุทธศาสตร์ ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว แผนกลยุทธ์ทางการเงิน รายงานผลการปฏิบัติราชการ รายงานการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลงาน รายงานการประชุมบุคลากร เพื่อรับมอบนโยบายในการปฏิบัติงาน © Copyright PresentationGO.com – The free PowerPoint template library

13 ด้านที่ 2 คุณภาพบัณฑิต (ตรี โท เอก) ยกตัวอย่าง เช่น
รายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน รายงานความก้าวหน้าบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ผลสอบภาษาอังกฤษของนักศึกษา แผนพัฒนาองค์ความรู้ด้านการวิจัยและนวัตกรรมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา รายงานสรุปการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท รายงานสรุปการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก รายงานผลการปฏิบัติราชการ © Copyright PresentationGO.com – The free PowerPoint template library

14 ด้านที่ 3 ยกตัวอย่าง เช่น รายงานสรุปจำนวนผลงานวิจัย
คุณภาพการวิจัย ยกตัวอย่าง เช่น รายงานสรุปจำนวนผลงานวิจัย รายงานสรุปจำนวนงานวิจัยที่ได้รับรางวัล รายงานสรุปจำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับรางวัล รายงานสรุปผลการจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร © Copyright PresentationGO.com – The free PowerPoint template library

15 ด้านที่ 4 ยกตัวอย่าง เช่น รายงานสรุปจำนวนผลงานวิจัย
ผลของการบริการวิชาการ ยกตัวอย่าง เช่น รายงานสรุปจำนวนผลงานวิจัย รายงานสรุปโครงการบริการวิชาการ รายงานผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ © Copyright PresentationGO.com – The free PowerPoint template library

16 ด้านที่ 5 ยกตัวอย่าง เช่น รายงานสรุปจำนวนผลงานวิจัย
ผลของการประกันคุณภาพภายใน ยกตัวอย่าง เช่น รายงานสรุปจำนวนผลงานวิจัย รายงานสรุปโครงการบริการวิชาการ รายงานผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการ © Copyright PresentationGO.com – The free PowerPoint template library

17 4 ปัญหาและอุปสรรค

18 ปัญหาและอุปสรรค การประสานระหว่างมหาวิทยาลัย สมศ. และคณะกรรมการ ค่อนข้างยาก เนื่องจากระยะเวลาไม่ตรงกัน ระยะเวลาในการเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก ของมหาวิทยาลัยมีค่อนข้างน้อย ข้อมูลของมหาวิทยาลัยในระบบ Automated QA ยังไม่สมบูรณ์ต้องดำเนินการตรวจสอบและแก้ไขเพิ่มเติม การตรวจประเมินแบบ Online Assessment ผ่านระบบการสื่อสารออนไลน์ Skype มีปัญหาจึงใช้การสื่อสารผ่านระบบ LINE แทน

19 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (รายประเด็นพิจารณา)

20 ปรับปรุง (Improvement Required)
ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ระดับคุณภาพ จำนวนประเด็นพิจารณา ดีเยี่ยม (Excellent) - ดีมาก (Very Good) 19 ดี (Good) 13 พอใช้ (Fair) ปรับปรุง (Improvement Required) รวม 32

21 5 ด้าน 11 องค์ประกอบ 32 ประเด็นพิจารณา
ระดับคุณภาพ ด้านที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการตามพันธกิจที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ องค์ประกอบที่ 1.1 บริบทของสถานศึกษา (Organization Context) ที่ตอบสนองต่อแผนยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (1) ผลการสังเคราะห์เชิงคุณภาพที่สถานศึกษาจัดทำในเรื่องการดำเนินงานที่สะท้อนอัตลักษณ์ภายใต้พันธกิจหลักของสถานศึกษา 4 ด้าน และการตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและประเทศทั้งในเชิงภารกิจและเชิงพื้นที่เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและทิศทางการพัฒนาประเทศในอนาคตตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ดี ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (2) ผลการสังเคราะห์เชิงคุณภาพที่สถานศึกษาจัดทำในเรื่องการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถาบันตามพันธกิจหลักของสถานศึกษาตามระบบหรือกลไกที่สถาบันกำหนดโดยนำแผนพัฒนาสถาบันไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาของประเทศ ดีมาก องค์ประกอบที่ 1.2 ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานด้านการบริหารสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (3) ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (4) ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์การบริหารสถานศึกษาตามแนวทางธรรมาภิบาล ด้านที่ 2 คุณภาพบัณฑิต (ตรี โท เอก) องค์ประกอบที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (5) การมีงานทำ หรือการศึกษาต่อ หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (6) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ประเด็นการพิจารณาที่ 3 (7) ทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 อาทิ ทักษะในการทำงาน Hard Skill Soft Skill IT Literacy หรือ Digital Literacy จากการสัมภาษณ์ผู้ใช้บัณฑิต หรือผลการปฏิบัติที่แสดงถึงทักษะดังกล่าว ประเด็นการพิจารณาที่ 4 (8) ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ

22 ด้าน ระดับคุณภาพ องค์ประกอบที่ 2.2 คุณภาพบัณฑิตปริญญาโท ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (9) ผลการนำความรู้และทักษะในวิชาชีพไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานโดยใช้ความรู้ขั้นสูงในการปฏิบัติและพัฒนางานเพื่อให้งานหรือองค์กรเกิดความก้าวหน้าในเชิงนโยบาย วิชาการ หรือด้านการบริหารจัดการ โดยมีคุณภาพผลงานเป็นที่ยอมรับเชิงประจักษ์ ดี ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (10) สัดส่วนผลงานของบัณฑิตที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทที่พัฒนาความเชี่ยวชาญ หรือการต่อยอดความรู้ที่สอดคล้องกับ (1) แนวทางการวิจัยและพัฒนาตามความเชี่ยวชาญของสถาบัน หรือ (2) แนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ หรือ (3) งานวิจัยที่สามารประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอก หรือภาคอุตสาหกรรม ประเด็นการพิจารณาที่ 3 (11) ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ ดีมาก องค์ประกอบที่ 2.3 คุณภาพบัณฑิตปริญญาเอก ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (12) คุณภาพของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ หรือนานาชาติ โดยพิจารณาตามเกณฑ์ของ สกอ. ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (13) สัดส่วนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของผู้เรียนระดับปริญญาเอกเป็นงานวิจัยที่เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมที่สอดคล้องกับ (1) แนวทางการวิจัยและพัฒนาตามความเชี่ยวชาญของสถาบัน หรือ (2) แนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ หรือ (3) งานวิจัยที่สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอก หรือภาคอุตสาหกรรม ประเด็นการพิจารณาที่ 3 (14) ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ ด้านที่ 3 คุณภาพงานวิจัย องค์ประกอบที่ 3.1 คุณภาพงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (15) สัดส่วนผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ที่มีความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (16) สัดส่วนผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ที่มีการอ้างอิงจากวารสารวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ (Citation) ประเด็นการพิจารณาที่ 3 (17) สัดส่วนผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับรางวัล หรือทุนวิจัยจากหน่วยงานภายนอกในระดับชาติ หรือนานาชาติ

23 ด้าน ระดับคุณภาพ องค์ประกอบที่ 3.2 คุณภาพงานวิจัยเชิงประยุกต์และการพัฒนานวัตกรรม ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (18) สัดส่วนผลงานวิจัยเชิงประยุกต์และการพัฒนานวัตกรรมที่มีความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ มีสิ่งประดิษฐ์คิดค้นที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ ดีมาก ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (19) สัดส่วนผลงานวิจัยเชิงประยุกต์และการพัฒนานวัตกรรมจนมีการจดทะเบียนผลงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ การจดสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร เป็นต้น ประเด็นการพิจารณาที่ 3 (20) สัดส่วนผลงานวิจัยเชิงประยุกต์และการพัฒนานวัตกรรมที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ หรือได้ทุนวิจัยพัฒนาต่อยอดจากหน่วยงานภายนอก ด้านที่ 4 ผลของการบริการวิชาการ องค์ประกอบที่ 4.1 ผลของการบริการวิชาการสู่สาธารณะ (Public Service) ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (21) ผลการประเมินงานบริการวิชาการของผู้รับบริการที่สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาหรือประยุกต์ใช้ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (22) ผลการบริการวิชาการที่สามารถสร้างคุณค่า (Value) แก่ผู้รับบริการ ชุมชน และสังคมได้ โดยสามารถนำผลจากการบริการวิชาการไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม เป็นผลกระทบเชิงบวกในวงกว้าง ประเด็นการพิจารณาที่ 3 (23) ผลความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการวิชาการของสถานศึกษาโดยคำนึงถึงการใช้นวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์การพัฒนา สนับสนุนให้ชุมชนสร้างสังคมคุณภาพ รองรับโอกาสและความท้าทายในอนาคต องค์ประกอบที่ 4.2 ผลของการบริการวิชาการแบบเฉพาะ (Specific Service) ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (24) ผลการประเมินงานบริการวิชาการจากหน่วยงานที่ร้องขอสามารถทำให้เกิดประโยชน์ได้จริง ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (25) ผลงานบริการวิชาการสามารถสร้างคุณค่า(Value) โดยพิจารณาจากผลที่คาดว่าจะได้รับจากผลการบริการวิชาการนั้น ๆ ได้แก่ In Cash คือ การสร้างคุณค่าพิจารณาผ่านค่าใช้จ่าย/มูลค่า/รายได้ In Kind คือ การสร้างคุณค่าที่ไม่เน้นมูลค่า/รายได้ อาทิ การสร้างความผูกพันต่อองค์กร การเกิดวัฒนธรรมองค์กร หรือองค์ความรู้ใหม่ เป็นต้น ประเด็นการพิจารณาที่ 3 (26) ผลการประเมินการบริการวิชาการแบบเฉพาะ (Specific Service) โดยคณะกรรมการวิชาการของสถานศึกษา

24 ด้าน ระดับคุณภาพ ด้านที่ 5 การประกันคุณภาพภายใน องค์ประกอบที่ 5.1 ผลสัมฤทธิ์ระบบประกันคุณภาพภายใน ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (27) ผลการประกันคุณภาพภายใน (IQA) ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารสถานศึกษา สามารถนำไปปรับปรุงพัฒนาและเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารสถานศึกษาได้ ดีมาก ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (28) ผลการประกันคุณภาพภายใน (IQA) จากการดำเนินการประกันภายในโดยสถานศึกษา ดี องค์ประกอบที่ 5.2 ผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรทั้งหมดของสถานศึกษา ประเด็นการพิจารณาที่ 1 (30) ผลของการนำผลการประเมินคุณภาพหลักสูตรไปใช้ปรับปรุง พัฒนา และบริหารจัดการ ประเด็นการพิจารณาที่ 2 (31) หลักสูตรได้รับการรับทราบจากหน่วยงานต้นสังกัด หรือการรับรองจากสภาวิชาชีพ (กรณีมีสภาวิชาชีพ) ประเด็นการพิจารณาที่ 3 (32) หลักสูตรได้รับการรับรองจากองค์กรรับรองคุณภาพในระดับนานาชาติ (International Accreditation Bodies) (ถ้ามี)

25 หลักเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพและวิธีการดำเนินงานของการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ ) ระดับอุดมศึกษา

26

27

28

29

30

31

32

33 ช่องทางการติดต่อ รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา เมฆขำ
facebook รศ.ดร.วิทยา เมฆขำ Website


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google