Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ผลการดำเนินงาน ปี 59 แผนการดำเนินงานปี 60
ผลการดำเนินงานปี 59
การดำเนินงานภายใต้ Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2559 ประชาชนได้รับการป้องกัน ดูแลสุขภาพ จากปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย : จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไป(ร้อยละ 50) ผลผลิตระดับกระทรวง : 1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2. มีกลไกของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด(อสธจ.) 3. มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน 4. มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลสังกัดสธ.ให้ถูกต้องตามกฎหมาย และ 5. มีการส่งเสริมให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน มาตรการดำเนินงาน พัฒนาระบบข้อมูลและเฝ้าระวัง พัฒนาระบบป้องกัน และลดปัจจัยเสี่ยง พัฒนาระบบบริการ เวชกรรมสิ่งแวดล้อม ระบบบริหารจัดการ 1. พัฒนาฐานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับด้านสุขภาพ (ข้อมูลมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยทั่วไป สิ่งปฎิกูล สุขาภิบาลอาหารและน้ำ มาตรการทางกฎหมายสาธารณสุข และข้อมูลพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม) 2. เฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ -เฝ้าระวังในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม 36 จังหวัด -เฝ้าระวังในพื้นที่ทั่วไป 1. การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล 1) จัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย 2) การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสีย 3) การจัดการของเสียทางการแพทย์ 2. การเสริมสร้างประสิทธิภาพจัดการสิ่งปฏิกูลของ อปท. 1. การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงโดยพัฒนางาน Env.Occ.Unit ใน รพศ. /รพท. Env.Occ.Centerใน รพช. Env.Occ.Clinic ใน รพสต. 1. การใช้มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุขในระดับจังหวัด 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. มีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้มาตรฐาน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนตระหนักรู้และ มีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการจัดการปัญหาระดับพื้นที่ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ 4. การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา 5. การกำกับ ติดตาม และประเมินผล กรมอ./กรมคร. กรมอ./สบรส.สป./อย. กรมอ./กรมคร./กรมพ. กรมอ./กรมคร./กรมสบส./สบรส.สป. เอาอันนี้ ดึงสีฟ้าไปไว้ข้างบน
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป ประเด็นการประเมินผล ผลการประเมินตัวเองของจังหวัดในภาพรวม มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ มีกลไกการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของรพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย จังหวัดมีการส่งเสริมให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ใน 36 จังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยง ข้อมูลรายงานผล 68 จังหวัด ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 89.71 (61 จังหวัด) การส่งข้อมูลผลการประเมินตนเองของจังหวัด - จังหวัดที่ ส่งข้อมูล 68 จังหวัด (ร้อยละ 89.47) - จังหวัดไม่ส่งข้อมูล 8 จังหวัด (ร้อยละ 10.83) ได้แก่ กาญจนบุรี ชลบุรี ระยอง บึงกาฬ เลย หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี ผลการประเมินตนเองของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 89.71 (61 จังหวัด) - มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ร้อยละ 86.76 (59 จังหวัด) - มีกลไกการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ร้อยละ 64.71(44 จังหวัด) - มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ร้อยละ 86.76 (59 จังหวัด) - มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของรพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย ร้อยละ 91.18 (62 จังหวัด) - จังหวัดมีการส่งเสริมให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐานใน 36 จังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยง ร้อยละ 69.44 (25 จังหวัด) ผลวิเคราะห์การดำเนินงานรายประเด็น ดังนี้ 1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1.1 จังหวัด 68 จังหวัด มีการรวบรวมข้อมูล อวล. - ประเด็นพื้นฐาน เช่น การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ,การจัดการมูลฝอยทั่วไป ,การสุขาภิบาลอาหารและน้ำ, การออกข้อกำหนดท้องถิ่น, การจัดการสิ่งปฎิกูล - ประเด็นพื้นที่เสี่ยง 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มสารเคมีและสารอันตราย (เหมืองแร่ทองคำ/เหมืองโพแทช), กลุ่มมลพิษอากาศ, กลุ่มพื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหา - ข้อมูลนโยบายรัฐบาล เช่น การลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟม 1.2 จังหวัด 60 จังหวัด มีสถานการณ์ด้าน อวล.และมีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ เช่น สื่อสารความเสี่ยง , นำเข้าที่ประชุม อสธจ.ฯลฯ 1.3 จังหวัด 63 จังหวัด มีการเฝ้าระวังด้าน อวล. ตามบริบทของพื้นที่ ร้อยละ ข้อมูล สถานการณ์ และเฝ้าระวังฯ อสธจ. EHA การจัดการมูลฝอยติดเชื้อฯ การจัดบริการเวชกรรมฯ
1. ประเด็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 68 จังหวัด มีการรวบรวมข้อมูล อวล. - ประเด็นพื้นฐาน เช่น มูลฝอยติดเชื้อ&ทั่วไป , อาหารและน้ำ, ข้อกำหนดท้องถิ่น, สิ่งปฎิกูล - ประเด็นพื้นที่เสี่ยง เช่น สารเคมี/สารอันตราย, มลพิษอากาศ, พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหา - ข้อมูลนโยบายรัฐบาล เช่น การลด ละเลิก การใช้ภาชนะโฟม จังหวัด มีสถานการณ์ด้าน อวล.และมีการนำข้อมูล ไปใช้ประโยชน์ เช่น สื่อสารความเสี่ยง , นำเข้าที่ประชุม อสธจ.ฯลฯ จังหวัด มีการเฝ้าระวังด้าน อวล. ตามบริบทของพื้นที่ ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ จังหวัดจัดทำฐานข้อมูล/สถานการณ์ยังครอบคลุมในทุกประเด็น ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 86.76
2. ประเด็นกลไกอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด จัดประชุมน้อยกว่า 3 ครั้ง เนื่องจากงบประมาณไม่เพียงพอ มีมติ/ติดตามมติด้าน อวล. ไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง เช่น การจัดทำข้อมูล สถานการณ์,พื้นที่มีปัญหาด้าน อวล. , การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ซึ่งประธาน/คณะอนุกรรมการฯให้ความสำคัญ ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 64.71
แผนที่แสดงภาพรวมการจัดประชุม อสธจ. ปี 2559 เขตพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่จัดประชุม จัดประชุมแล้ว 65 จังหวัด (ร้อยละ 85 ) จังหวัดมีแผนการประชุม แต่ยังไม่จัดไม่จัดประชุม จังหวัดที่ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 1 ครั้ง (37จังหวัด) จังหวัดที่ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 2 ครั้ง (23 จังหวัด ) จังหวัดที่ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 3 ครั้ง (4 จังหวัด) ข้อมูล ณ 18 ส.ค. 59 จังหวัดที่ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 4 ครั้ง (1 จังหวัด )
3. จังหวัดมีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 86.76 อปท. สมัคร 1,953 แห่ง (จาก 2,442 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 79.78 อปท. ที่ผ่านการประเมินรับรอง EHA จำนวน 986 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.49 (ของ อปท. ที่สมัคร) - อปท. ผ่านการประเมินระดับพื้นฐาน จำนวน 840 แห่ง - อปท. ผ่านการประเมินระดับเกียรติบัตร จำนวน 146 แห่ง (อปท. ได้แก่ ทน., ทม., ทต.) ข้อมูล ณ 15 ก.ค. 59 ปัญหา/อุปสรรค ผู้ให้คำปรึกษาระดับจังหวัด (Instructor) ยังไม่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ อปท. ได้อย่างครอบคลุม จำนวนผู้ตรวจประเมินไม่สามารถรองรับจำนวนผู้รับการประเมินได้อย่างทั่วถึง
4. ประเด็นระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อฯ 67 จังหวัด มีฐานข้อมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของสถานบริการการสาธารณสุข 67 จังหวัด มีกลไกการบริหารจัดการและประสานความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา มูลฝอยติดเชื้อระดับจังหวัด อาทิ อสธจ. 68 จังหวัด มีแผนและรายงานผลการประเมินมาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ. สังกัด กสธ. ระดับดีขึ้นไป เท่ากับร้อยละ 86.76
5. ประเด็นการส่งเสริมให้มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐาน ใน 36 จังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยง รพศ./รพท. ผ่านเกณฑ์การจัดบริการเวชกรรมสวล.27 แห่ง (จาก 116 แห่ง) ร้อยละ 23.28 มี รพศ./รพท. เสนอขอรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสวล. ค่อนข้างมาก จึงต้องรอรับการประเมินในปี 2560 ทีมตรวจประเมินระดับจังหวัดยังไม่มีความมั่นใจในการประเมินการจัดบริการอาชีวอนามัย
เข็มมุ่งกรมอนามัย/คำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement : PA) ร้อยละ 100 ของ รพ. สังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย โรงพยาบาลเป้าหมาย 953 แห่ง : รพศ. รพท. รพช. (896 แห่ง) และ รพ. สังกัดกรมหน่วยงานอื่นภายใต้กระทรวงสาธารณสุข (57 แห่ง) ผ่านการประเมินมาตรฐาน 772 แห่ง (ร้อยละ 81) ปัญหาอุปสรรค 1. รพ.สังกัด สธ. ส่วนใหญ่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง/ปรับปรุงที่พักรวมฯ 2. หน่วยงาน/ผู้ประกอบการที่ให้บริการ ยังไม่ได้มาตรฐาน 3. อปท. บางส่วนยังไม่ออกข้อกำหนดท้องถิ่น 4. ระบบข้อมูลยังไม่เป็นปัจจุบัน 81 % 19 % 953 772 181 ข้อเสนอแนะ ควรมีการรับรองมาตรฐานผู้ให้บริการเก็บขน กำจัด ควรศึกษารวบรวมเทคโนโลยีในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ 3. ควรจัดอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 4. ควรทำ MOU กับหน่วยงานที่ควบคุมกำกับอปท. ที่มา : ข้อมูลการรายงานตามคำรับรองฯ กพร. รอบ 9 เดือน
โครงการพระราชดำริ/ โครงการเฉลิมพระเกียรติ / โครงการที่เกี่ยวเนื่องกับพระบรมวงศานุวงศ์ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน โครงการสุขอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร จำนวน 39 แห่ง โรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ปี 59 จำนวน 39 แห่ง มีส้วมสุขอนามัย (ปี 58-59 = 120 แห่ง) โครงการแก้ไขปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ (บูรณาการดำเนินงานร่วมกับกรมควบคุมโรค) ส่งเสริมความรู้ และพัฒนาศักยภาพการบังคับใช้กฎหมายบุคลากรระดับท้องถิ่น/ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งปฏิกูล พัฒนาศักยภาพ และถ่ายทอด องค์ความรู้แก่ ผู้ประกอบการสูบ/กำจัดสิ่งปฏิกูล ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งปฏิกูล จำนวน 3 รุ่น โครงการพัฒนาการจัดการน้ำบริโภคในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ คก. บริหารจัดการและฟื้นฟูนิเวศน์ลุ่มน้ำปากพนัง คก. รักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน คก. กพด. เฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภค พื้นที่ 2 จ. พื้นที่ศูนย์อนามัยพื้นที่สูง เฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคในพื้นที่ กพด. จำนวน 841 แห่ง พื้นที่ 2 จ. (นครศรีธรรมราช สงขลา) พื้นที่ กพด. จำนวน 221 แห่ง (26.28%)
โครงการเร่งด่วนตามนโยบายรัฐบาล/โครงการสำคัญ การดำเนินงาน โครงการเร่งด่วนตามนโยบายรัฐบาล/โครงการสำคัญ โครงการ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน โครงการองค์กรต้นแบบลด ละ เลิกการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร เพื่อสุขภาพ ที่ดีของคนไทย ร้านอาหารของ สสจ. /รพศ./รพท./รพช./สถาบัน/ศูนย์วิชาการ /หน่วยงาน/องค์กรต้นแบบ สสจ. /รพศ./รพท./รพช./สถาบัน/ศูนย์วิชาการ /หน่วยงาน/องค์กรต้นแบบ ดำเนินการลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหาร 816 แห่ง โครงการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากพื้นที่เสี่ยง ดำเนินการ 3 กลุ่ม ได้แก่ สารเคมี/สารอันตราย มลพิษทางอากาศ พื้นที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ คู่มือ/แนวทางเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่เสี่ยง/แผนที่ความเสี่ยง เฝ้าระวังฯ/ปรับปรุงแก้ไขระบบประปาพื้นที่รอบเหมืองแร่ทองคำรอยต่อ 3 จ. 49 แห่ง ปชช. ได้รับการคุ้มครอง 3,800 หลังคาเรือน เฝ้าระวังสุขภาพเด็ก นร. 8 แห่ง ทั้งใน/นอกเขต ต.หน้าพระลาน จ.สระบุรี จัดทำมาตรฐานด้านอวล.ชุมชนแรงงานต่างด้าวในเขต ศก.พ.
แผนการดำเนินงานปี 60
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย พ.ศ.... SDG 3: Good health and well-being (SDG 3.9) SDG 6: Clean Water and Sanitation (SDG 6.1/ SDG 6.2 /SDG 6.b) Goal 12: Responsible consumption, production (SDG12.4/SDG12.5) SDG 13: Climate action SDG WHA (World Health Assembly) Health and Air Pollution Health and Climate Change Role of Health Sector in Chemical Management ประเทศไทย 4.0 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 2560-2564 ยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ 20 ปี ด้านสาธารณสุข กรมอนามัย2560-2564 ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย พ.ศ.... ปชช.ได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสวล.และสุขภาพของ ปชช. จัดให้มีระบบจัดการ/กำจัดขยะมูลฝอย/เป็นมิตรต่อ สวล. (ม.258) การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม งานอนามัยสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ สร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เติบโตที่เป็นมิตรกับ สวล. เพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งระบบ อวล.ชุมชนอย่างยั่งยืน P & P Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) พัฒนา/เสริมสร้างศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อ สวล. บริบทสำคัญที่เกี่ยวข้อง
แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (กรมอนามัย) Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) 2559-2579 เป้าประสงค์ : “ประชาชนมีสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน” P & P Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ) การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและพัฒนาคุณภาพสถานบริการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการ 1. โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม KPI :(1) ร้อยละหน่วยบริการจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ (2) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN and CLEAN Hospital 2.โครงการบริหารจัดการมลพิษสิ่งแวดล้อมและคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมใน พื้นที่เสี่ยง (Hot Zone) KPI : จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน โครงการ & ตัวชี้วัด แผนงานที่ 4 แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (กรมอนามัย) ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ (1) ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน (Active Communities) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ตัวชี้วัด (1) ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน (2) จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ มีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด กลยุทธ์ เสริมสร้างการมีส่วนร่วมประชาชนและภาคีเครือข่ายในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างศักยภาพ อปท.ในการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อนกลไกการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข พัฒนาระบบการบริหารจัดการ กลยุทธ์ เป้าประสงค์ (GOAL) Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ “ส่งเสริมความเข้มแข็งระบบสิ่งแวดล้อมของชุมชน” (1) ตำบลมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชน อย่างน้อยตำบลละ 1 ชุมชน (2) จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ มีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอวล. ตัวชี้วัด ขับเคลื่อนผ่าน คณะอนุกรรมการฯ 5 คณะ
System & Mechanism: ระดับชุมชน ชุมชน เฝ้าระวัง ได้เองใช้มาตรการทางสังคม ชุมชน รู้สถานการณ์ รู้ปัญหา จัดลำดับความสำคัญ เฝ้าระวังได้ จัดการได้ เสนอให้ท้องถิ่น เครือข่ายระดับนโยบาย System & Mechanism: ระดับชุมชน แผนยุทธศาสตร์ชาติ EnH Province /District Profile EnH City / Community Profile Model Development -ศพด. -โรงเรียน -โรงพยาบาล -ตลาด -สถาน ประกอบการฯ -วัด ฯลฯ Policy Output ปลัด สธ. คกก.สธ / คกก อวล EHA อสธจ. เขตสุขภาพ/ศอ. Regulate/ Support อปท. DOH DHSสสอ./รพช./ Support Active Communities "ร่วมคิด ร่วมทำ จัดการได้” EnH Cluster + 5 กลุ่ม + FIN + KISS + HR Process Strategy -Technical Support รพ.สต. อสม./แกนนำชุมชน สสจ. ภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่าย Empower Law/Guideline/Standard /Technology/Surveillance / Innovation / EnH Country profile แนวทาง / Standard / บ่งชี้/ เฝ้าระวัง/สื่อสาร/ชี้แนะ อย่างมีส่วนร่วม Tools / Guideline บ่งชี้/เฝ้าระวัง/สื่อสาร/จัดการ อย่างมีส่วนร่วม ธรรมนูญตำบล (สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม) Input Building Capacity / KM / M & E 5 ข้อมูล/เฝ้าระวัง
6 ก้าวสำคัญในปี 60 พัฒนาวิชาการ เพื่อแก้ปัญหา เร่งสร้าง นวัตกรรม เปลี่ยน ภาพ กระบวน ทัศน์ เคร่งครัด เอกภาพ พัฒนาวิชาการ เพื่อแก้ปัญหา (นวัตกรรม) ขับเคลื่อน ไปพร้อมๆ กัน เน้นภาคีเครือข่าย ใส่ใจ ระบบ คุณภาพ ปรับ กระบวนทัศน์ จาก Program Base เป็น Area Base เกื้อกูล สร้าง กลไก เร่ง พัฒนา ข้อมูล พัฒนาระบบคุณภาพบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) อนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด สถานการณ์อนามัยสิ่งแวดล้อม
แผนการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2560 การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง และสื่อสารความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (คณะอนุฯ 2) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้าน อวล. (NEHIS) รายงานสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ ในพื้นที่เสี่ยง/พื้นที่ทั่วไป (พื้นที่เสี่ยง เช่น สารเคมี/สารอันตราย, มลพิษอากาศ, พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหา) การพัฒนาทีมเฝ้าดู (Watch Dog) การพัฒนากฎหมาย มาตรฐาน ชุดความรู้ งานวิจัย วิชาการ และการจัดการความรู้ (คณะอนุฯ 3) การพัฒนากฎหมาย การพัฒนาชุดความรู้ด้าน อวล. จัดทำร่างกฎหมาย ประกาศกฎหมาย คำแนะนำทางวิชาการ การพัฒนาต้นแบบ/รูปแบบการจัดการด้าน อวล. การพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล (คณะอนุฯ 1) การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ แผนแม่บทมูลฝอยติดเชื้อ/ส้วม สาธารณ แผน NEHAP ฉบับที่ 3 แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้านสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านการจัดการอวล. กรณีสาธารณภัย ความร้อน ภัยแล้ง หมอกควัน ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน 4 ภาค M&E การขับเคลื่อนการใช้มาตรการทางกฎหมาย และการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (คณะอนุฯ 4) พัฒนาคุณภาพระบบบริการด้าน อวล. ของท้องถิ่น (EHA) การพัฒนากฎหมาย/ขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมาย ประชุม คกก.สธ. การออกข้อกำหนดท้องถิ่น 3. สนับสนุน อสธจ. เพื่อดำเนินงานในพื้นที่ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีเครือข่าย (คณะอนุฯ 5) 1. การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรส่วนกลาง พัฒนาศักยภาพเครือข่าย - อบรมครู ก. ด้าน อวล. (สสจ.) - หัวหน้ากลุ่มงานอวล. (สสจ.) - อบรมวิชาการด้าน อวล. 4 ภาค (ศอ./ สสจ./ สสอ.) - พัฒนาศักยภาพAuditor/Instructor (ส่วนกลาง/ศอ./สสจ.) 2. การพัฒนาหลักสูตร - พัฒนาหลักสูตร สำหรับ สสจ./สสอ. - พัฒนาหลักสูตร EHA : Auditor/Instructor/Practitioner
การขับเคลื่อน การดำเนินงานด้านอวล. ของ ศอ. ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ /นโยบายที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้จังหวัดจัดทำฐานข้อมูลผ่านระบบ NEHIS ติดตามประเมินผล พัฒนาระบบเฝ้าระวังในพื้นที่เสี่ยง/พื้นที่ทั่วไป การขับเคลื่อน การดำเนินงานด้านอวล. ของ ศอ. พัฒนาศักยภาพบุคลากรในเขตรับผิดชอบ พัฒนาต้นแบบ/รูปแบบ ด้าน อวล. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน สนับสนุนกลไก อสธจ. ในการดำเนินงาน ในพื้นที่
ขอขอบคุณ Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข