รายงานผลการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม is the บริษัทจินป่าว พรีซิชั่น อินดัสทรี่ จำกัด JINPAO PRECISION INDUSTRY CO.,LTD.
ข้อมูลของบริษัท ชื่อสถานประกอบการ (ภาษาไทย): บริษัทจินป่าว พรีซิชั่น อินดัสทรี่ จำกัด (ภาษาอังกฤษ): JINPAO PRECISION INDUSTRY CO.,LTD. เลขที่ตามใบ รง.4/เลขที่ใบประกอบกิจการในพื้นที่นิคมฯ: น. 67(5)-1/2546-นนป. ประเภทการผลิต : ประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตและจำหน่ายแม่พิมพ์ ผลิตและจำหน่ายชิ้นส่วนอะไหล่แม่พิมพ์ ผลิตและจำหน่ายชิ้นส่วนอิเลคโทรนิค ปริมาณสินค้าหรือบริการที่จัดเตรียม: 15,299,191 ชิ้น/ปี ที่ตั้ง : 631 หมู่ 4 ซ.12 ต.แพรกษา อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10280 จำนวนพนักงาน : 1,180 คน
Plant Layout
Process Flow Input Process Output CNC Stamping Machining Wire Cut - ขั้นตอนแรก (First Process) - วัตถุดิบ CNC - ชิ้นงานดี / ชิ้นงานเสีย - ถุงมือ Stamping - เศษวัตถุดิบ - ไม้พาเลท Machining - น้ำเสียจากการล้างเครื่อง - แผ่นกั้น /ถุงพลาสติก / ฟิล์มยืด Wire Cut - เศษผ้า / ถุงมือปนเปื้อน / เศษพลาสติก - ฝอยขัด - กระดาษทรายเก่า - กระดาษทราบ - น้ำยาหล่อเย็นที่เสื่อมสภาพ - น้ำมัน / น้ำยาหล่อเย็น - น้ำ RO - ขั้นตอนที่สอง (Second Process) Reprocess - แผ่นกั้น / ถุงพลาสติก Bending - กระดาษทราย Spot Welding - เศษฝอยขัด - ลวดเชื่อม Welding Grinding - น้ำหล่อเย็น Assembly - แอลกอฮอล์ - ขั้นตอนสุดท้าย (Finally Process) - สีประเภทต่างๆ Painting - แก็ส Screen - เศษกล่อง /เศษแผ่นกั้น / เศษถุงพลาสติก - น้ำ *Plated (Outsourcing) - เศษสี / กากตะกอนสี - เศษผ้า Packing - น้ำเสียจากการพ่นสี Store - น้ำยา / เคมี เก่า - กล่อง / แผ่นกั้น / ถุงพลาสติก - เศษผ้า / ถุงมือปนเปื้อน - ถุงมือ / เศษผ้า - เศษเทปกาว - เทปกาว - น้ำยา / เคมีต่างๆ
ผังโครงสร้างการบริหาร
ระบบการจัดการที่ดำเนินการ และรางวัลต่างๆ ที่ได้รับ ISO 9001 : 2015 ISO14001:2015
ระบบการจัดการที่ดำเนินการ และรางวัลต่างๆ ที่ได้รับ AS9100D IATF16949 :2016
นโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม
โครงสร้างคณะทำงาน CSR
กิจกรรมสร้างความตระหนัก และความรู้ความสามารถ อบรมให้ความรู้กับแผนกต่าง ๆ
การทบทวนสถานะเริ่มต้น ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ประเด็น ข้อกำหนดที่ต้องปฏิบัติ ข้อกำหนดที่ควรปฏิบัติเพิ่มเติม รวมข้อกำหนดทั้งหมด ร้อยละ รวมทั้งหมด NA ปฏิบัติ 5.1 การกำกับดูแลองค์กร 11 1 12 100.00 5.2 สิทธิมนุษยชน 39 7 6 46 45 97.83 5.3 การปฏิบัติด้านแรงงาน 29 2 31 5.4 สิ่งแวดล้อม 21 14 35 23 65.71 5.5 การดำเนินงานอย่างเป็นธรรม 5 4 26 25 96.15 5.6 ประเด็นด้านผู้บริโภค 36 8 44 32 86.36 5.7 การมีส่วนร่วมและการพัฒนาชุมชน 18 43 27 62.79 รวม 182 177 55 237 195 84.81 หมายเหตุ : ข้อกำหนดที่ต้องปฏิบัติ คือ ประเด็นที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต้องปฏิบัติอย่างครบถ้วน ข้อกำหนดที่ควรปฏิบัติเพิ่มเติม คือ ประเด็นพิเศษที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกขนาดสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพิ่มเติมตามศักยภาพขององค์กร NA คือ ประเด็นที่องค์กรไม่มีความเกี่ยวข้อง กับกิจกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม
กราฟแสดงผลการทบทวนสถานะเริ่มต้น
กฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ จำนวนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ผลการประเมินความสอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดอื่น ๆ ประเด็น จำนวนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหมด สอดคล้อง ไม่สอดคล้อง 5.1 การกำกับดูแลองค์กร 16 5.2 สิทธิมนุษยชน 20 5.3 การปฏิบัติด้านแรงงาน 115 113 2 5.4 สิ่งแวดล้อม 60 54 6 5.5 การดำเนินงานอย่างเป็น ธรรม 10 5.6 ประเด็นด้านผู้บริโภค 9 5.7 การมีส่วนร่วมและการ พัฒนาชุมชน 12 รวม 242 234 8
แผนและผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดต่างๆ (กรณีไม่สอดคล้องกับกฎหมาย) 6.3.1 บุคลากรรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม 1.ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษ หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติของผู้ควบคุมดูแล ผู้ปฏิบัติงานประจำ และหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสำหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ พ.ศ. 2545และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 2.ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุมการปล่อยของเสียมลพิษ หรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติของผู้ควบคุมดูแลผู้ปฏิบัติงานประจำ และหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียน ผู้ควบคุมดูแลสำหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 3.ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การแจ้งและการรับแจ้งการมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจำโรงงาน พ.ศ. 2556 4. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม พ.ศ. 2556 5. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2558(21 สิงหาคม 2558) 6. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง แบบรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2559 (25/2/2559)
แผนและผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดต่างๆ (กรณีไม่สอดคล้องกับกฎหมาย) การดำเนินงานตามแผนงาน
แผนและผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดต่างๆ (กรณีไม่สอดคล้องกับกฎหมาย) การดำเนินงานตามแผนงาน
แผนและผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดต่างๆ (กรณีไม่สอดคล้องกับกฎหมาย) สรุปผลและหลักฐานการดำเนินงาน สำรวจรายชื่อพนักงาน ที่มีคุณสมบัติเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ นางสาวพิมพ์พิศา พิมพ์ละออ มีคุณสมบัติเข้าทดสอบมาตรฐานผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ ส่งพนักงานเข้าทดสอบมาตรฐานผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ นางสาวพิมพ์พิศา พิมพ์ละออ เข้าทดสอบมาตรฐานผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หมายเหตุ: ลำดับที่ 3-6 อยู่ระหว่างรอผลเพื่อดำเนินการต่อไป ใบประกาศยืนยันการสอบผ่านมาตรฐานผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ แจ้งขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ ประกาศแต่งตั้งผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด สรุปผลการดำเนินงาน
แผนและผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดต่างๆ (กรณีไม่สอดคล้องกับกฎหมาย) 6.3.2 การตรวจรับรองระบบไฟฟ้า กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ. 2558 2. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่องหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการจัดทำบันทึกผลการตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า
แผนและผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดต่างๆ (กรณีไม่สอดคล้องกับกฎหมาย) การดำเนินงานตามแผนงาน
แผนและผลการดำเนินงานปรับปรุงและพัฒนาให้สอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดต่างๆ (กรณีไม่สอดคล้องกับกฎหมาย) สรุปผลและหลักฐานการดำเนินงาน จัดหาVenderสำหรับตรวจสอบระบบความปลอดภัยไฟฟ้า บริษัทธนบุรีอีกร๊ปุจำกัด ห้างหุ้นส่วนจำกัด ศิรินันท์ ซัพพลาย หมายเหตุ: ลำดับที่ 3-6 อยู่ระหว่างรอผลจาก ลำดับที่ 2 เพื่อดำเนินการต่อไป นำเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาอนุมัติราคา ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง กำหนดวันตรวจสอบระบบไฟฟ้า Venderเข้าตรวจสอบระบบไฟฟ้า ติดตามผลรายงานตรวจสอบระบบไฟฟ้า นำส่งรายงานตรวจสอบระบบไฟฟ้าต่อกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สรุปผลการดำเนินงาน
การพิจารณาข้อร้องเรียน ข้อร้องเรียนก่อนปี 2561 ไม่มี ข้อร้องเรียนภายในปี 2561
การพิจารณาข้อร้องเรียน ข้อร้องเรียนภายในปี 2561 บริษัทได้จัดทำหนังสือไปยังสำนักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปกราการ ไม่มีผู้ใดร้องเรียน
การพิจารณาข้อร้องเรียน ข้อร้องเรียนภายในปี 2561 บริษัทได้จัดทำหนังสือไปยังสำนักงาน เทศบาลตำบลแพรกษาไม่พบข้อร้องเรียน จากชุมชนรอบข้างที่เกี่ยวข้อง
การพิจารณาข้อร้องเรียน ข้อร้องเรียนภายในปี 2561 บริษัทได้จัดทำหนังสือไปยังสำนักงาน นิคมอุตสาหกรรมบางปู ไม่มีข้อร้องเรียน
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย บริษัท จินป่าว พรีซิชั่น อินดัสทรี่ จำกัด การบ่งชี้ผู้มีส่วนได้เสีย 1. ผู้ถือ หุ้น 2. พนักง าน บริษัท จินป่าว พรีซิชั่น อินดัสทรี่ จำกัด 6. ภาครั ฐ 3. ชุมชน 5. ลูกค้า 4. Suppl ier
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย การจัดทำทะเบียนผู้มีส่วนได้เสีย
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย การจัดทำทะเบียนผู้มีส่วนได้เสีย
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย การจัดทำทะเบียนผู้มีส่วนได้เสีย
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย การประเมินผลประโยชน์ และผลกระทบ
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย การประเมินผลประโยชน์ และผลกระทบ
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย การประเมินผลประโยชน์ และผลกระทบ
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย การประเมินผลประโยชน์ และผลกระทบ
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย การจัดลำดับความสำคัญของผู้มีส่วนได้เสีย
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย การสานเสวนากับผู้มีส่วนได้เสีย : พนักงาน/หัวหน้างาน จำนวน 14 คน ในวันที่ 6 เมษายนพ.ศ. 2561 ได้ผลสรุปดังนี้
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย การสานเสวนากับผู้มีส่วนได้เสีย : พนักงาน/หัวหน้างาน จำนวน 14 คน ในวันที่ 6 เมษายนพ.ศ. 2561 ได้ผลสรุปดังนี้
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน) ชื่อโครงการ : ที่จอดรถจักรยานยนต์ซอย 11 ชื่อโครงการ ที่จอดรถจักรยานยนต์ซอย 11 วัตถุประสงค์ เพื่อจัดให้มีสถานที่จอดรถจักรยานยนต์ที่เป็นระเบียบและความปลอดภัย เพื่อให้พนักงานมีความพึงพอใจในสถานที่จอดรถจักรยานยนต์ เป้าหมาย จัดทำสถานที่จอดรถจักรยานยนต์บริเวณด้านหลังโรงงานอย่างน้อย 50 คัน พนักงานมีความพึงพอใจต่อสถานที่จอดรถจักรยานยนต์อย่างน้อยร้อยละ 80 หน่วยที่ใช้วัดเป้าหมาย จำนวนที่จอดรถจักรยานยนต์บริเวณด้านหลังโรงงาน(คัน) ความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อสถานที่จอดรถจักรยานยนต์ (ร้อยละ) ค่าที่วัดได้ในปัจจุบัน จำนวนที่จอดรถจักรยานยนต์บริเวณด้านหลังโรงงาน (ไม่มี) ความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อสถานที่จอดรถจักรยานยนต์ (ไม่มี) ผลลัพธ์ของโครงการ (Outcome) 1. มีสถานที่จอดรถจักรยานยนต์สำหรับพนักงานบริเวณด้านหลังโรงงาน 2. พนักงานมีความพึงพอใจต่อสถานที่จอดรถจักรยานยนต์ ผลกระทบของโครงการ (Impact) พนักงานมีสถานที่จอดรถจักรยานยนต์ที่ปลอดภัยและเป็นระเบียบเรียบร้อย สามารถปฏิบัติงานได้อย่างไร้กังวล ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น ลดความผิดพลาดในการทำงาน เกิดทัศนคติที่ดีต่อบริษัท ระยะเวลา เมษายน – สิงหาคม2561 งบประมาณ 660,000 บาท คณะทำงาน นางปนรรฐพร เข็มเพชร นายวิรัช สิริโภคากร นายไพบูลย์ จันทร์วลัยพร ผู้จัดทำโครงการ Senior General Affair Officer ผู้อนุมัติโครงการ Mr. Chung Kuo Sung Managing Director
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน) การดำเนินงานตามแผนงาน
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน) ผลการดำเนินงาน สรุปผลและหลักฐานการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 – 2: แต่งตั้งคณะทำงานฯ, ประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง ผล: มีการแต่งตั้งคณะทำงาน และได้มีการประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2561 (ไม่มีภาพการประชุมแต่งตั้ง เนื่องจากมีการประชุมในห้องทำงานของกรรมการผู้จัดการ) ขั้นตอนที่ 3: สำรวจพื้นที่ ผล: คณะทำงานได้ทำการสำรวจพื้นที่ที่จะสร้างสถานที่จอดรถจักรยานยนต์เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2561
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน) ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 4: นำเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุมัติโครงการ ผล:หลังการสำรวจพื้นที่ คณะทำงานได้นำเสนอสถานที่จอดรถจักรยานยนต์บริเวณซอย 11 ให้ผู้บริหารรับทราบและผู้บริหารได้อนุมัติในงบประมาณ.ในการก่อสร้าง ขั้นตอนที่ 5: คัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้าง ผล:คณะทำงานได้นำโครงการที่ได้รับอนุมัติแล้ว ให้ทางฝ่ายจัดซื้อ ดำเนินการหาผู้รับเหมาในการการก่อสร้าง ฝ่ายจัดซื้อ ได้คัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้าง ผู้บริหารได้อนุมัติการคัดเลือกผู้รับเหมาก่อสร้าง ในงบประมาณ 660,000 บาท
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน) ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 6: ดำเนินการก่อสร้าง ผล:ผู้รับเหมาได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที 7 พฤษภาคม 2561 ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการ ขั้นตอนที่ 7 - 10: พิธีเปิดสถานที่จอดรถจักรยานยนต์, ติดตามผลการดำเนินการ,สรุปผลและนำเสนอผลการดำเนินงานต่อผู้บริหาร ผล:อยู่ระหว่างดำเนินการ
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน) ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย เป้าหมายที่ 1:จัดทำสถานที่จอดรถจักรยานยนต์บริเวณด้านหลังโรงงานขนาดพื้นที่ 300 ตรม. ผล: ผู้รับเหมากำลังดำเนินการก่อสร้างในพื้นที่ขนาด 350 ตรม. โครงการอยู่ระหว่างดำเนินการ
การดำเนินงานด้านการตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสีย (พนักงาน)
ข้อมูลของชุมชน
การดำเนินงานกับชุมชน การสานเสวนากับชุมชน
การดำเนินงานกับชุมชน ชื่อโครงการ รอบบ้านน่ามอง เสริมรายได้ให้ชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างนิสัยการทิ้งขยะทั่วไป และคัดแยกขยะ Recycle เพื่อให้ชุมชนมีภาชนะในการจัดเก็บขยะทั่วไป และภาชนะคัดแยกขยะ Recycle เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนและบริษัทฯ เป้าหมาย ให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะ และการคัดแยกขยะ อย่างน้อย 1 ครั้ง จัดหาถังขยะทั่วไปอย่างน้อย 9 ถัง และถังขยะ Recycle เพื่อคัดแยกขยะ 3 ประเภท อย่างน้อย 2 จุด ชุมชนมีรายได้จากการขายขยะ Recycle อย่างน้อย 500 บาทต่อเดือน มีคนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย 70 คน และมีพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย 50 คน หน่วยที่ใช้วัดเป้าหมาย จำนวนครั้งของการให้ความรู้ในการทิ้งขยะและคัดแยกขยะ Recycle จำนวนถังขยะทั่วไป และจุดวางถังคัดแยกขยะ Recycle รายได้จากการขายขยะ Recycle ต่อเดือน จำนวนคนในชุมชนและจำนวนพนักงานที่เข้าร่วมกิจกรรม ค่าที่วัดได้ในปัจจุบัน จำนวนครั้งของการให้ความรู้ในการทิ้งขยะและคัดแยกขยะ Recycle (ไม่มี) จำนวนถังขยะทั่วไป และจุดวางถังคัดแยกขยะ Recycle (ไม่มี) รายได้จากการขายขยะ Recycle ต่อเดือน (ไม่มี) จำนวนคนในชุมชนและจำนวนพนักงานที่เข้าร่วมกิจกรรม (ไม่มี) ผลลัพธ์ของโครงการ (Outcome) ชุมชนได้รับความรู้การทิ้งขยะให้ถูกที่ และคัดแยกขยะ Recycle ชุมชนมีภาชนะในการจัดเก็บขยะทั่วไป และภาชนะคัดแยกขยะ Recycle ชุมชนมีรายได้เสริมจากการขายขยะ Recycle เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชุมชนและบริษัทฯ ผลกระทบของโครงการ (Impact) ชุมชนมีความรู้ในการจัดเก็บและคัดแยกขยะ ซึ่งสามารถนำไปสร้างรายได้เสริมให้กับชุมชน พร้อมทั้งชุมชนมีทัศนียภาพรอบบ้านที่ดี ไม่ทิ้งขยะใต้ถุนบ้าน ส่งผลให้สภาพแวดล้อมในชุมชน และคนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บริษัทฯ และชุมชนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ร่วมพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ระยะเวลา เมษายน – กรกฏาคม 2561 งบประมาณ 45,000 บาท คณะทำงาน คณะทำงานบริษัท คุณวินัย อังคณาวิศัลย์ คุณยอดชาย บุญธรรม คุณสานนท์ ขันมั่น คุณอรวรีย์ ศรีศุภร คุณสหัสวรรษ แก้วมณี คุณทรงยศ หิรัญ คุณกานต์ธิดา ตรั่นวัน คุณนุชจรินทร์ เมฆขุนทด คุณศุภิกา สาริบุตร คุณราตรีภรณ์ รุ่งโชติ คุณณฐชาติ กุลสา คณะทำงานชุมชน คุณเกรียงไกร ชูไสว (ผู้ใหญ่บ้าน) พระมหาสมิทร โชติโก เจ้าอาวาสวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ ผู้จัดทำโครงการ ( คุณสถิตย์ วงศ์สุทธิเลิศ ) IE_AMP Manager ผู้อนุมัติโครงการ ( Mr.Chung, Kuo-Sung ) Managing Director
การดำเนินงานกับชุมชน การดำเนินงานตามแผนงาน
การดำเนินงานกับชุมชน การดำเนินงานตามแผนงาน
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน สรุปผลและหลักฐานการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 1: แต่งตั้งคณะทำงาน และประชุมคณะทำงาน ผล: ผู้บริหารแต่งตั้งคณะทำงาน และมีการประชุมคณะทำงาน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 3: ขออนุมัติงบประมาณจากผู้บริหาร ผล: ผู้บริหารอนุมัติงบประมาณเพื่อดำเนินงานโครงการ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 5: จัดเตรียมอุปกรณ์และภาชนะสำหรับทิ้งขยะทั่วไป และคัดแยกขยะ Recycle ผล: คณะทำงานจัดหาถังขยะทั่วไป จัดหาวัสดุมาทำถังคัดแยกขยะrecycle โดยใช้ช่างซ่อมบำรุง พนักงานประกอบ พนักงานเชื่อม และพนักงานทาสี รวม 15 คนร่วมกันจัดทำถังขยะ Recycle แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 6: ให้ความรู้เรื่องการทิ้งและการคัดแยกขยะ ผล: คณะทำงานร่วมกับมูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวัน(ประเทศไทย) ดำเนินการให้ความรู้เรื่องการทิ้งและการคัดแยกขยะ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 7: ส่งมอบถังขยะแด่ผู้นำชุมชน ผล: คณะทำงานมอบถังขยะทั่วไป และถังขยะ Recycle ให้ชุมชนและวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 8: ดำเนินการวางถังขยะตามจุดที่กำหนด - ถังขยะทั่วไปทั้งหมด 3 สะพานๆ ละ 3 จุด ถังขยะ Recycle จำนวน 2 จุด ผล: คณะทำงานร่วมกับชุมชนจัดวางถังขยะตามจุดที่กำหนดโดยจัดวางถังขยะทั่วไปบริเวณสะพาน และถังขยะ Recycle บริเวณชุมชนและวัดศรีจันทร์ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 9: ติดตามเพื่อประเมินผลโครงการ และวัดผลความพึงพอใจ ผล:คณะทำงานมีการติดตามเพื่อประเมินผลโครงการ และวัดผลความพึงพอใจในโครงการรอบบ้านน่ามอง เสริมรายได้ให้ชุมชน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561 โดยผลประเมินวัดความพึงพอใจอยู่ที่ 92.04%
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 10: สรุปผลและนำเสนอผลการดำเนินโครงการต่อผู้บริหาร เพื่อวางแผนการพัฒนาในอนาคต ผล:คณะทำงานมีการสรุปผลและนำเสนอผลการดำเนินโครงการต่อผู้บริหาร เพื่อวางแผนการพัฒนาในอนาคต เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย เป้าหมายที่ 1: ให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะ และการคัดแยกขยะ อย่างน้อย 1 ครั้ง ผล: คณะทำงานร่วมกับมูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวัน(ประเทศไทย) ให้ความรู้เกี่ยวกับการทิ้งขยะ และการคัด แยกขยะ จำนวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย เป้าหมายที่ 2: จัดหาถังขยะทั่วไปอย่างน้อย 9 ถัง และถังขยะ Recycle เพื่อคัดแยกขยะ 3 ประเภท อย่างน้อย 2 จุด ผล: คณะทำงานจัดหาถังขยะทั่วไปจำนวน 9 ถัง และถังขยะ Recycle เพื่อคัดแยกขยะ 3 ประเภท โดยมีการจัดวางตามจุดที่กำหนด เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย เป้าหมายที่ 3: มีคนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย 70 คน และมีพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย 50 คน ผล: มีคนในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 75 คน และมีพนักงานเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 54 คน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561
การดำเนินงานกับชุมชน ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย เป้าหมายที่ 4: ชุมชนมีความพึงพอใจต่อโครงการอย่างน้อย 90% ผล: ชุมชนมีความพึงพอใจต่อโครงการ 92.04%
การดำเนินงานกับชุมชน
วิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคในการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรในโครงการ CSR-DIW จุดแข็ง จุดอ่อน 1. ผู้บริหารให้การสนับสนุนงบประมาณและกิจกรรม CSR 2. มีคณะทำงาน CSR-DIW ซึ่งมาจากหลายแผนก 3. มีนโยบาย CSR อย่างชัดเจน 1. คณะทำงาน CSR ของบริษัทได้ถูกจัดตั้งขึ้นและเข้ามาดำเนินกิจกรรมตามเกณฑ์มาตรฐาน CSR เป็นปีแรกแผนงานกิจกรรมไม่สะดวกทำช่วงเวลาทำงาน พนักงานจึงเข้าร่วมกิจกรรมไม่ทั่วถึง 2. ขาดความรู้ความเข้าใจในข้อกำหนด CSR ตามหลักมาตรฐานสากลหรือ ISO26000 3. แผนงานกิจกรรมไม่สะดวกทำช่วงเวลาทำงาน พนักงานจึงเข้าร่วมกิจกรรมไม่ทั่วถึง โอกาส อุปสรรค ได้รับความร่วมมือและยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานราชการในการทำกิจกรรมต่างๆ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ความสำคัญต่อองค์กรในการเข้าร่วมกิจกรรม 1. .ภาวะเศรษฐกิจไม่แน่นอน อาจส่งผลต่อการจัดสรรงบประมาณในการทำกิจกรรม 2. ระยะเวลาในการดำเนินโครงการน้อยเกินไป
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาเกี่ยวกับโครงการ CSR-DIW ให้กับโรงงานอุตสาหกรรมในอนาคต ควรขยายรัศมีรอบโรงงานให้มากกว่า 5 กิโลเมตร เพื่อให้ชุมชมที่อยู่ไกลเกินกว่า 5 กิโลเมตรได้รับโอกาส ควรมีการเพิ่มระยะเวลาในการดำเนินโครงการให้มากกว่านี้
บริษัท จินป่าว พรีซิชั่น อินดัสทรี่ จำกัด ขอขอบพระคุณ