คลินิกวัยรุ่น YFHS : แนวทางการดำเนินงานและมาตรฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คลินิกวัยรุ่น YFHS : แนวทางการดำเนินงานและมาตรฐาน พลอยเนตร ชนานันท์พจนิธิ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

รพ. ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 60 เป้าหมาย การดำเนินงาน YFHS ปี 2558 รพ. ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 60 (ปี 2557 เป้าหมายร้อยละ 40) 05/12/61 www.themegallery.com Company Logo

ร้อยละโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ YFHS เปรียบเทียบ ปี 2555-2557

ร้อยละโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ YFHS แยกรายจังหวัด ปี 2557 เป้าหมาย 40 %

ร้อยละโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ YFHS แยกรายจังหวัด เปรียบเทียบปี 55-57

ร้อยละอำเภอผ่านเกณฑ์ อ. RH เปรียบเทียบปี 2556-2557

ร้อยละอำเภอผ่านเกณฑ์ อ. RH แยกรายจังหวัด ปี 2557 เป้าหมาย 40 %

ร้อยละอำเภอผ่านเกณฑ์ RH แยกรายจังหวัด เปรียบเทียบปี 56-57

คลินิกวัยรุ่น YFHS : “คลินิกวัยรุ่น” เป็นคลินิกที่ รพ./ สถานบริการสาธารณสุข ที่ต้องการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services : YFHS) วัตถุประสงค์ เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนเข้าถึงและใช้บริการสุขภาพตามความเหมาะสม ( ซึ่งสอดคล้องกับบทบาทและความรับผิดชอบของ รพ. ในการป้องกัน แก้ไข ดูแล และฟื้นฟูปัญหาสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ของวัยรุ่นและเยาวชน อายุ 10 -24 ปี ในเขตรับผิดชอบ)

การจัดบริการ YFHS สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน กรอบแนวคิด การจัดบริการ YFHS สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน โรงพยาบาล ดำเนินงานตามมาตรฐาน วัยรุ่นและเยาวชน ได้รับการดูแล กรมอนามัย จัดตั้งคลินิกวัยรุ่น /ผสมผสานบริการ ให้บริการดูแล สุขภาพวัยรุ่น และเยาวชน ส่งต่อบริการ สังคม/การแพทย์ กิจกรรมเชิงรุก เชื่อมโยงบริการ กับสถานศึกษา/ สถานประกอบการ/ ชุมชนและอื่นๆ อบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน ส่งเสริมการใช้มาตรฐาน YFHS สนับสนุนสื่อต้นแบบ นิเทศและติดตาม KM ประเมินและรับรองมาตรฐานฯ ตามการ ร้องขอ พฤติกรรมปกติ พฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรม มีปัญหา ส่งต่อ/ดูแล ทางการแพทย์/สังคม ลดปัญหาสุขภาพของวัยรุ่นและเยาวชน (การตังครรภ์,โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์/HIV ,ยาเสพติด,ความรุนแรง) 05/12/61

การพัฒนา YFHS ในบทบาทกรมอนามัย ระยะพัฒนาเชิงคุณภาพ (ปี2555 – 2558) ระยะพัฒนาเชิงปริมาณ (ปี2552 – 2554) ระยะวิจัยและพัฒนา (ปี2549 – 2551) อบรมผู้ประเมินโรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS การอบรมผู้ให้บริการ YFHS ให้แก่ ผู้ให้บริการจาก รพ.ทุกจังหวัด จัดทำมาตรฐานบริการ YFHS (ฉบับร่าง) เยี่ยมและพัฒนาโรงพยาบาล สนับสนุนสื่อและคู่มือต่างๆ ที่ สำคัญ ประเมินและรับรองมาตรฐาน ทดลองใช้มาตรฐานฯ (ฉบับร่าง) ใน รพ.นำร่อง 12 แห่ง การนิเทศติดตามและประเมินผล จัดเวที KM ประกาศเกียรติคุณ/มอบรางวัล ผลงานเด่นระดับประเทศ YFHS Clinic Award ประเมินผลการทดลองใช้มาตรฐานฯ(ฉบับร่าง)  รพ.พัฒนาระบบบริการตามคู่มือแนวทางคลินิกวัยรุ่น และมาตรฐาน YFHS  รพ.ประเมินตนเองและปรับปรุงบริการ รพ. พัฒนาคุณภาพ YFHS อย่างต่อเนื่อง ประเมินและรับรองคุณภาพ รพ.ตามมาตรฐานYFHS ทุก 3 ปี แก้ไข/ปรับปรุงมาตรฐานฯ (ฉบับร่าง) เป็นมาตรฐาน YFHS ฉบับสมบูรณ์  เครือข่ายการให้บริการ YFHS ที่มีคุณภาพทั้งในและนอกรพ. เช่น รพ.สต. โรงเรียน สถานประกอบการ และชุมชน  วัยรุ่นและเยาวชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพได้มากขึ้น  รพ.มีบริการคุณภาพตามมาตรฐาน YFHS  มาตรฐานบริการ YFHS ฉบับสมบูรณ์  รูปแบบบริการ YFHS จังหวัดและรพ.ที่เข้าร่วมโครงการ 76 จังหวัด 824 โรงพยาบาล  ผู้ให้บริการผ่านการอบรม 2686 คน  รพ.พัฒนาระบบบริการตามมาตรฐาน YFHS

สถานที่จัด Youth Friendly Health Services คลินิกเอกชน ให้บริการ Tertiary Care สถานบริการ สาธารณสุข บริการ (ความรู้ ปรึกษา ดูแล ส่งต่อ) Outreach/mobile เชื่อมโยงและต่อยอดกับYFHS อื่นๆ สถานีอนามัย Outreach เปิดคลินิก อบรมแกนนำ/กลุ่มเสี่ยง โรงพยาบาล บริการ (ความรู้ ปรึกษา ดูแล ส่งต่อ) Outreach/mobile เชื่อมโยงและต่อยอดกับYFHS อื่นๆ ชุมชน แกนนำ/อสม ศูนย์เยาวชน โรงเรียน ชุมนุม/ชมรม Friend Corner ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สถานประกอบการ แกนนำ Mobile

Accessibility and utilization of Health services การเข้าถึงและใช้บริการสุขภาพ Accessibility and utilization of Health services Youth Friendly Health Services เพื่อตอบสนองความต้องการของวัยรุ่น ขจัดอุปสรรคการเข้าถึงและใช้บริการ วัยรุ่นเข้าไม่ถึงบริการ พ่อแม่ ชุมชน โรงเรียน รพ.สต. โรงพยาบาล ร้านยา ฯลฯ

ทำอย่างไรที่จะทำให้บริการเข้าถึงวัยรุ่น YFHS สามารถจัดบริการที่ health centres ในชุมชน ในโรงเรียน โรงพยาบาล/คลินิก ปรับระบบบริการให้มีความเป็นมิตรมากขึ้น จัดบริการในชุมชน รวมการจัดบริการ youth centres, shopping malls และ/บริการผ่านทาง Internet การจัดบริการเชิงรุกในเขตเมืองจำเป็น---เพื่อเข้าไปยังกลุ่มที่ยาก ต่อการเข้าถึง เช่น เด็กเร่ร่อน วัยรุ่นที่เป็นชนชายขอบ การจัดบริการเชิงรุกในเขตชนบทจำเป็น---เพื่อเข้าไปยังกลุ่มที่อยู่ ในพื้นที่ห่างไกล โรงเรียนเป็น entry point สำหรับ YFHS สำหรับนักเรียน โรงงาน/สถานประกอบการสามารถจัดบริการให้สุขศึกษา บริการคัดกรอง YFHS จัดที่ไหนก็ได้ที่มีวัยรุ่นไป — no single setting should become the only model. WHO: Adolescent Friendly Health Services : An Agenda for Change, 2002

ทำอย่างไร 05/12/61

การเตรียมการ ศึกษาข้อมูลสถานการณ์และแนวโน้มสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ของวัยรุ่นและเยาวชน เสนอผู้บริหารเพื่อขอรับการสนับสนุนเชิง นโยบาย ร่วมกันกำหนดผู้รับผิดชอบ คณะทำงาน/ คณะกรรมการ ประชุมคณะทำงาน/คณะกรรมการ ประเมินความต้องการของวัยรุ่น ศึกษาและประเมินต้นทุนเดิม ศึกษาและสรุปกิจกรรม 05/12/61

การเตรียมการ ออกแบบระบบบริการใหม่YFHS และ ช่องทางพิเศษ สื่อสารภายในโรงพยาบาล จัดทำรายชื่อเครือข่ายการบริการและ หน่วยงานที่ทำงานเกี่ยวกับวัยรุ่น ปรับระบบข้อมูลและรายงานเพื่อติดตามและ ประเมินผล จัดทำแผนงานและโครงการ ดำเนินการตามแผนงานและโครงการ 05/12/61

บริการ YFHS ที่คลินิกวัยรุ่นควรเป็นอย่างไร สถานที่ตั้งคลินิกวัยรุ่น - คลินิกวัยรุ่นแยกต่างหาก - ประยุกต์/บูรณาการกับคลินิกที่มีอยู่ ผู้ให้บริการ - รพศ/รพท เชิงรับ 2 คน และเชิงรุกอีก 2 คน และ แพทย์ 1 คน - รพช เชิงรับและเชิงรุก 2 คน 05/12/61

บริการ YFHS ที่คลินิกวัยรุ่นควรเป็นอย่างไร บริการสุขภาพที่คลินิกวัยรุ่น - การประเมินคัดกรองความเสี่ยงด้านสุขภาพ - บริการให้ความรู้และคำแนะนำเรื่องสุขภาพ - บริการให้การปรึกษาหลากหลาย และ VCT - บริการส่งเสริมสุขภาพ - บริการส่งต่อไปรับการดูแลทางการแพทย์และ ทางสังคม - สื่อให้ความรู้รูปแบบต่างๆ เช่น TV / VCD/ Internet วันและเวลาให้บริการ ใน/และนอกเวลา การประชาสัมพันธ์ หลากหลาย

บริการ YFHS ที่คลินิกวัยรุ่นควรเป็นอย่างไร กิจกรรมเชิงรุก เช่น - สร้างเครือข่ายแกนนำวัยรุ่น/เยาวชน ออกหน่วยเคลื่อนที่ - สร้างความเข้มแข็งให้กับระบบคัดกรอง พฤติกรรมเสี่ยง - จัดกลุ่มสัมพันธ์วัยรุ่นที่สนใจเรื่องเพศศึกษา/ความรัก/อื่นๆ - สร้างเครือข่ายคนทำงานเรื่องวัยรุ่นทั้ง ภาครัฐและเอกชน - กิจกรรมประชาสัมพันธ์ด้วยช่องทางต่าง ๆ 05/12/61

การติดตามและประเมินผล ประเมินประสิทธิผล/ประเมินผลลัพธ์ จำนวนผู้รับบริการวัยรุ่น แยกตามกลุ่มอายุ เพศ และประเภทของบริการ จำนวนและร้อยละของแม่วัยรุ่นอายุ 15-19 ปี คลอด จำนวนและร้อยละของแม่วัยรุ่นอายุ 15-19 ปี มาฝากครรภ์ จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยเอดส์อายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวนและร้อยละของผู้ป่วย STI อายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวนและร้อยละของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี แท้งบุตร 05/12/61

การติดตามและประเมินผล ประเมิน เพื่อ ปรับปรุงคุณภาพบริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการวัยรุ่น ความพึงพอใจ/การยอมรับ/การปรับปรุงบริการและการดำเนินงานจากเครือข่าย ผู้นำชุมชน ผู้ปกครอง แกนนำวัยรุ่น การเข้าถึงบริการของวัยรุ่นที่นอกคลินิกวัยรุ่น สรุปบทเรียนการทำงาน 05/12/61

มาตรฐาน YFHS เป็นอย่างไร 05/12/61

มาตรฐานYFHS คืออะไร ? แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับคุณภาพที่พึงประสงค์ที่สถานบริการยึดเป็นแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้วัยรุ่นเข้าถึงและใช้บริการ ตามความต้องการ 05/12/61 24

มาตรฐานYFHS พัฒนามาอย่างไร ? 05/12/61 25

การจัดทำมาตรฐานYFHS มาตรฐาน YFHS 05/12/61 ประชุมปฏิบัติการ มาตรฐานต่างประเทศ ข้อมูลWHO งานวิจัย ประชุมผู้เชี่ยวชาญ นวก.ผู้มีระสบการณ์และวัยรุ่น ประชุมปฏิบัติการ ผู้เชี่ยวชาญ/ประสบการณ์องค์กรระหว่างประเทศ ผู้บริหารและ ผู้ให้บริการ ผู้ทรงคุณวุฒิ HA และ HPH นักวิชาการจากGO&NGO วัยรุ่น จัดทำร่าง มาตรฐานฯ ทดลอง มาตรฐานฯ ข้อเสนอแนะจาก Solution Exchange ของ UNFPA 05/12/61 26

กลุ่มเป้าหมาย ผู้ใช้มาตรฐาน วัยรุ่นและเยาวชนอายุ 10 – 24 ปี ทั้งในและนอกระบบการศึกษา (ชนบทห่างไกล สลัม เด็กเร่ร่อน และเด็กด้อยโอกาส ฯ) ผู้ใช้มาตรฐาน ผู้บริหาร ผู้ให้บริการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้นิเทศทุกระดับ 05/12/61 27

Friendly Health Service for Young People หลักการพื้นฐาน Friendly Health Service for Young People - เป็นบริการที่ผสมผสาน - มีความเป็นส่วนตัว - รักษาความลับ - ตอบสนองความต้องการ ที่หลากหลาย วัยรุ่นมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน YFHS (Youth Friendly Health Service) มีบริการเชิงรุก เพื่อให้ถึงกลุ่มเป้าหมาย มีการยอมรับและได้รับการ สนับสนุนจากชุมชน/ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย มีกลไกการประสานงานกับ ภาคีเครือข่ายอย่างเป็นรูปธรรม และต่อเนื่อง ต้องมีระบบบริหารจัดการที่ดี ได้รับการสนับสนุนจาก ผู้บริหาร พัฒนาบุคลากร/ ประชาสัมพันธ์ การจัดการความรู้ การนิเทศติดตามประเมินผล เป็นบริการที่ประกอบทั้ง ส่งเสริม/ป้องกัน/รักษา และฟื้นฟู

มาตรฐานบริการ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 1) การบริหารจัดการ 1) การบริหารจัดการ 2) การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและสร้าง ความต้องการในการใช้บริการ 3) บริการที่ครอบคลุมต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย 4) ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตร

มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้อง การในการใช้บริการ มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มี ประสิทธิภาพและ เป็นมิตรต่อวัยรุ่น 30 30 30 30

มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ 2.1 เครือข่าย 2.2 การประชาสัมพันธ์ 2.3 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย มาตรฐาน บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับ วัยรุ่นและเยาวชน ฉบับบูรณาการ องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และการสร้างความต้องการ ในการใช้บริการ องค์ประกอบที่ 3 บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ และเป็นมิตรต่อวัยรุ่น องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ 3.1 บริการให้ข้อมูล 3.2 บริการให้การปรึกษา 3.3 บริการครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู 3.4 การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน/คณะกรรมการ 1.3 แผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ/กิจกรรม 1.4 ระบบข้อมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู้ 1.5 การสื่อสารภายใน 1.6 การสนับสนุนทรัพยากร 1.7 การกำกับ ติดตาม และประเมินผล เริ่มจากปีพ.ศ.2549-2551 กรมอนามัยได้จัดทำโครงการพัฒนาบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ นำแนวคิดของ Adolescent Friendly Health Services (AFHS) ตามแนวทางของWHO และนำไปให้โรงพยาบาลศูนย์ รพท.และรพช.และ รพ.สังกัดกรมอนามัยรวม 12 แห่ง ทดลองใช้และขยายการใช้ต่อภายใต้โครงการวัยเรียนวัยใสอนามัย ดี๊ ดี ที่เป็นการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ อนามัยการเจริญพันธุ์ ทันตสุขภาพ และโภชนาการ ซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.)สนับสนุนงบประมาณ ปี2552 การจัดทำมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services: YFHS ) ที่ได้รับความร่วมมือจากกรมสุขภาพจิต และกรมควบคุมโรค ซึ่งใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองและการพัฒนาโรงพยาบาลในการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และมีการอบรมผู้ให้บริการที่เป็นมิตรสำหรับโรงพยาบาล สังกัด สป. ใน 76 จังหวัด และเริ่มมีการเยี่ยมพัฒนาและประเมินโรงพยาบาลตามแนวทางมาตรฐานYFHS ในปี 2555 จนถึงปัจจุบัน 4.1 ระบบบริการ 4.2 สถานที่ให้บริการ 4.3 บุคลากรผู้ให้บริการ

1. การบริหารจัดการ การควบคุมกำกับติดตาม และประเมินผล มีวิสัยทัศน์พันธกิจ และนโยบาย 1. การบริหารจัดการ การตั้งคณะทำงาน การสนับสนุน ทรัพยากร มีแผนงานโครงการ การสื่อสารภายใน มีระบบข้อมูล การจัดการความรู้

มีเครือข่ายและการดำเนินงานที่ครอบคลุม ชุมชนและภาคีเครือข่าย มีสาวนร่วม 2. การเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายและ สร้างความต้องการ การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย การจัดบริการเชิงรุก มีช่องทางที่ไม่แสดงตัว การประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารและบริการ - มีแผนประชาสัมพันธ์บริการต่าง ๆ - ประเมินผลการได้รับข้อมูลข่าวสาร

3. บริการที่ครอบคลุม ความต้องการ การดูแลต่อเนื่อง และการส่งต่อ - มีทะเบียน มีระบบติดตาม/ ส่งต่อ บริการที่ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู -มีการประเมินพฤติกรรมเสี่ยง -ประเมินภาวะสุขภาพBMI/EQ/IQ -การป้องกันเรื่อง บุคลิกภาพ ปัญหาRH(ยาคุม/Condom/UPT) -รักษาโรค เช่น PMS/สิว/อ้วน การบริการให้ข้อมูล/ความรู้ ครบถ้วน บริการ Couselling ในเวลา/นอกเวลา ผ่านช่องทางที่หลากหลาย

Effective และ เป็นมิตร 4. ระบบบริการที่ Effective และ เป็นมิตร ระบบบริการ - ระบบบริการที่ลดขั้นตอน - ทำงานเป็นทีม - ให้บริการ ณ จุดเดียว/ช่องทางพิเศษ - นวัตกรรม สถานที่/สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม บุคลากรผู้ให้บริการ -ผ่านการอบรม -พัฒนาศักยภาพ -ประเมินสมรรถนะ

ใช้แบบประเมินตนเองและมาตรฐานอย่างไร ผู้บริหาร กลุ่มแกนนำ และผู้เกี่ยวข้อง ศึกษาแบบประเมิน หน่วยงานและผู้เกี่ยวข้อง ประเมินตนเอง นำข้อมูลจากทุกส่วนมาประมวล ปรับปรุง รพ.ทำเรื่องเสนอขอรับการประเมิน 05/12/61 36

ขั้นตอนการประเมิน และรับรองมาตรฐาน YFHS 05/12/61

สวัสดี