“ การใช้สิทธิประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าตามความตกลงต่างๆ ของไทยในการประกอบธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรม ” โดยนางสาวณัฐรุจา ไชยกองละ นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการพิเศษ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

การนำเข้าสินค้าเกษตร ตามพันธกรณีความตกลงระหว่างประเทศ
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
แนวทางการบริหารงบประมาณ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
ภูเก็ต นายวงศกร นุ่นชูคันธ์ นายทวี หอมหวล ว่าง นายเฉลิม รักมาก
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
ภาพรวมระบบ National Single Window (NSW) เดิม นายธาดา สุวรรณวิมล.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การกำหนด คุณลักษณะครุภัณฑ์ นาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ความรู้ด้านงานธุรการ งาน สารบรรณ งานการเงินและพัสดุเบื้องต้น สำหรับข้าราชการและ เจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานด้านการป้องกัน รักษาป่า ธุรการและสาร บรรณ การเงิน.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
“เทคนิคการคำนวณต้นทุน เพื่อขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร”
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
FTA.
การตรวจต้นทุนแหล่งกำเนิดสินค้า
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การส่งกำลังบำรุงในระดับต่าง ๆ ของ ทบ.
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
SMS News Distribute Service
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
การประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับโครงการยกเลิกสำเนา
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
Supply Chain Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ การใช้สิทธิประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าตามความตกลงต่างๆ ของไทยในการประกอบธุรกิจอย่างเป็นรูปธรรม ” โดยนางสาวณัฐรุจา ไชยกองละ นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการพิเศษ กรมการค้าต่างประเทศ วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 ณ โรงแรมไดมอนด์ พลาซ่า จังหวัดสงขลา

หัวข้อการบรรยาย ภาพรวมการค้าระหว่างประเทศของไทย ระบบสิทธิประโยชน์ฯ ทางการค้า การใช้สิทธิประโยชน์ฯ ของไทย กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า

การค้าระหว่างประเทศของไทย มูลค่าการค้า มูลค่า การส่งออก มูลค่า การนำเข้า ดุลการค้า 2556 474,830.94 224,955.94 249,830.67 - 24,874.73 2557 453,082.69 225,013.02 228,069.67 - 3,056.65 2558 412,803.75 210,865.31 201,938.44 8,926.87 หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา: World Trade Altas

ตลาดส่งออกที่สำคัญ ปี 2558 มูลค่าการส่งออก 1 อาเซียน 54,233.28 2 สหรัฐอเมริกา 23,681.49 3 จีน 23,311.05 4 สหภาพยุโรป 21,629.15 5 ญี่ปุ่น 19,756.94 6 ออสเตรเลีย 9,612.35 7 เกาหลีใต้ 4,035.66 8 อเมริกาใต้ 3,857.98 อื่นๆ 50,747.41 รวม 210,865.31 หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา: World Trade Atlas

รายการสินค้าส่งออกที่สำคัญ ปี 2558 ลำดับ พิกัดสินค้า รายการสินค้า มูลค่าการส่งออก 1  847170 หน่วยเก็บข้อมูล 10,943.70 2  870421 ยานยนต์สำหรับขนส่ง น้ำหนักบรรทุกไม่เกิน 5 ตัน 6,798.90 3  271019 น้ำมันปิโตรเลียมและน้ำมันที่ได้จากแร่บิทูมินัสนอกจากที่เป็นน้ำมันดิบ อื่นๆ 5,427.78 4  100630 ข้าว 4,078.30 5  710812 ทองคำ 3,544.57 6  847330 ส่วนประกอบของเครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ 3,253.54 7  870322 รถยนต์และยานยนต์ ความจุของกระบอกสูบ1,000 -1 ,500 ลบ.ซม. 3,009.21 8  854231 วงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ ตัวประมวลผลและตัวควบคุม 2,865.13 9  400122 ยางธรรมชาติ (TSNR) 2,670.87 10  870899 ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบของยานยนต์ 2,666.068 อื่นๆ 165,607.24 รวม 210,865.31 หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา: World Trade Atlas

แหล่งนำเข้าที่สำคัญ ปี 2558 มูลค่าการนำเข้า 1 จีน 40,912.36 2 อาเซียน 40,882.38 3 ญี่ปุ่น 31,133.16 4 สหภาพยุโรป 18,033.32 5 สหรัฐอเมริกา 13,818.39 6 เกาหลีใต้ 7,014.95 7 ออสเตรเลีย 4,199.18 8 อเมริกาใต้ 3,199.57 อื่นๆ 43,224.24 รวม 201,938.44 หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา: World Trade Atlas

รายการสินค้านำเข้าที่สำคัญ ปี 2558 ลำดับ พิกัดสินค้า รายการสินค้า มูลค่าการนำเข้า 1  270900 น้ำมันปิโตรเลียมดิบ และน้ำมันดิบที่ได้จากแร่บิทูมินัส 19,452.45 2  710812 ทองคำ 7,062.22 3  851712 เครื่องโทรศัพท์ 3,873.36 4  732690 ของอื่นๆ ทำด้วยเหล็กหรือเหล็กกล้า 3,401.91 5  271121 ก๊าชธรรมชาติ 3,264.89 6  854231 วงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ ตัวประมวลผลและควบคุม 3,136.76 7  854239 วงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ อื่นๆ 2,988.74 8  854290 วงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนประกอบ 2,968.43 9  880240 เครื่องบินและอากาศยานอื่นๆ น้ำหนักบรรทุกมากกว่า 15,000 กิโลกรัม 2,800.72 10  847330 ส่วนประกอบของเครื่องประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ 2,643.13 อื่นๆ 150,345.79 รวม 201,938.44 หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา: World Trade Atlas

ความตกลง FTA ที่มีผลบังคับใช้แล้ว 12 ความตกลง อาเซียน-จีน (ACFTA) 1 ม.ค. 2547 อาเซียน-เกาหลี (AKFTA) 1 ม.ค.2553 ไทย-อินเดีย (TIFTA) 1 ก.ย.2547 อาเซียน-อินเดีย (AIFTA) 1 ม.ค.2553 ไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA)1 พ.ย.2550 อาเซียน-ญี่ปุ่น (AJCEP) 1 มิ.ย.2552 ไทย-เปรู 31 ธ.ค.2554 อาเซียน (AEC) 1 ม.ค. 2536 Content Layouts ไทย-นิวซีแลนด์ (TNZCEP) 1ก.ค.2548 ไทย-ออสเตรเลีย (TAFTA) 1 ม.ค.2548 ไทย- ชิลี (TCFTA) อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) 12 มี.ค.2553

การใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าส่งออกภายใต้ความตกลง FTA หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ รายการ 2555 (ม.ค.-ธ.ค.) 2556 (ม.ค.-ธ.ค.) 2557 (ม.ค.-ธ.ค.) 2558 (ม.ค.-พ.ย.) มูลค่าการส่งออกของรายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ FTA 71,888.03 71,726.03 73,151.86 64,117.75 มูลค่าการส่งออกภายใต้สิทธิ FTA 41,704.80 50,713.71 51,582.60 46,178.61 สัดส่วนการใช้สิทธิ FTA (%) 58.01 70.70 70.51 72.07 หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประเทศ ปี 2556 (ม.ค.-ธ.ค.) ปี 2557 (ม.ค.-ธ.ค.) ปี 2558 (ม.ค.-พ.ย.) มูลค่าส่งออกของรายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ FTA มูลค่าการส่งออกภายใต้สิทธิ FTA สัดส่วนการใช้สิทธิ FTA อาเซียน 31,567.13 18,309.65 58.00 33,048.28 19,857.80 60.09 28,305.17 17,718.79 62.60 จีน 15,621.83 14,024.77 89.78 15,277.64 13,052.39 85.43 13,138.57 10,406.88 79.21 อินเดีย 4,110.84 2,241.83 54.53 4,639.12 2,802.54 60.41 4,799.77 2,785.69 58.04 ออสเตรเลีย 8,395.16 7,612.46 90.68 7,686.61 7,214.66 93.86 7,686.79 7,506.04 97.65 ญี่ปุ่น 7,644.66 6,137.97 80.29 8,561.38 6,373.34 74.44 6,921.01 5,917.77 85.50 เกาหลี 3,449.39 2,328.82 67.51 2,935.07 2,195.31 74.80 2,227.01 1,760.37 79.05 นิวซีแลนด์ 867.9 47.18 5.44 917.29 77.73 8.47 968.13 67.27 6.95 เปรู 69.12 11.03 15.96 86.47 8.83 10.21 17.93 14.51 80.93 รวม 71,726.03 50,713.71 70.70 73,151.86 51,582.60 70.51 64,046.45 46,162.81 72.07

ภาพรวมการใช้สิทธิ GSP มูลค่าการใช้สิทธิ GSP (ล้านเหรียญหรัฐฯ) มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ 2555 (ม.ค.-ธ.ค.) 2556 (ม.ค.-ธ.ค.) 2557 (ม.ค.-ธ.ค.) 2558 (ม.ค.-พ.ย.) ส่งออกสินค้าที่ได้รับสิทธิ GSP 23,284.88 21,366.78 19,891.05 5,945.64 ส่งออกภายใต้ GSP 13,427.28 13,919.31 13,724.64 3,683.83 (%) สัดส่วนการใช้สิทธิ 57.67 65.14 69.00 61.96 ประเทศ มูลค่าการใช้สิทธิ GSP (ล้านเหรียญหรัฐฯ) 2556 2557 2558 สหรัฐอเมริกา 3,341.14 3,488.47 3,247.44 สวิตเซอร์แลนด์ 305.34 298.14 271.16 รัสเซียและเครือรัฐอิสระ 207.01 228.51 127.88 ญี่ปุ่น 29.7 24.91 15.12 นอร์เวย์ 29.3 27.93 22.23 สหภาพยุโรป 9,052.06 8,711.67 - ตุรกี 684.57 658.73 แคนาดา 270.19 286.28 รวม 13,919.31 13,724.64 3,683.83

กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (Rules of Origin: RoO)

กฎถิ่นกำเนิดสินค้า (RoO) สิ่งสำคัญที่ควรทราบ: พิกัดศุลกากร และเงื่อนไข/หลักเกณฑ์ถิ่นกำเนิดสินค้า ถิ่นกำเนิดหรือสัญชาติของสินค้า เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ผลประโยชน์ที่ได้รับ จากการให้สิทธิพิเศษจะตกแก่สินค้าที่เป็นผลผลิต ที่แท้จริงของประเทศที่ได้รับสิทธิ หลักเกณฑ์ เครื่องมือ กติกา เครื่องพิสูจน์ ใช้แสดง... เงื่อนไข/เกณฑ์การได้ถิ่นกำเนิด ได้แก่ WO, CTC, RVC และ process rules

การจำแนกพิกัดของสินค้า มี 21 หมวด เป็นหมวด (Section) ใช้เลข 2 หลัก (XX) มี 97 ตอน เป็นตอน (Chapter) ใช้เลข 4 หลัก (XXXX) เป็นประเภท (Heading) ใช้เลข 6 หลัก (XXXXXX) มีมากกว่า 5,500 รายการ แบ่งเป็นประเภทย่อย (Sub-heading)

ตัวอย่างการจำแนกพิกัดฯ Chapter 03 = สัตว์น้ำ Heading 03.02-03.03 = ปลาสดแช่เย็นแช่แข็ง Chapter 87 = ยานพาหนะ Heading 87.11 = รถจักรยานยนต์ Sub-heading 8711.30 = รถจักรยานยนต์ 250 – 500 ซีซี

ตัวอย่าง Wholly Obtained or produced พืช ทรัพยากร 1. Description of the business 4. Description of the business แร่ธาตุ ขยะ 5. Description of the business 2. Description of the business สัตว์ 3. Description of the business สินค้าที่ผลิตหรือได้มาจาก ในประเทศทั้งหมด

กฎเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rules : PSR) มีดังนี้ 1. กฎการเปลี่ยนพิกัดศุลกากร (Change in tariff classification: CTC) กรณีใช้วัตถุดิบที่ไม่ได้ถิ่นกำเนิดนำมาผ่านกระบวนการผลิตและสินค้าดังกล่าวมีการเปลี่ยนพิกัดฯ - ในระดับ 2 หลัก (Change of Chapter: CC) - ในระดับ 4 หลัก (Change of Tariff Heading: CTH) - ในระดับ 6 หลัก ในประเทศภาคีส่งออก (Change of Tariff Sub Heading: CTSH)

ตัวอย่าง เกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดในระดับ 2 หลัก (CHANGE OF CHAPTER – CC) วัตถุดิบ - ปลา พิกัด สินค้า - ปลาทูนากระป๋อง พิกัด กระบวนการผลิต 03XX.XX 1604.14

ตัวอย่าง RVC ≥ 40 % บ. รถยนต์ไทย ผลิตได้ QVC ≥ 40 % gasoline engines, Horns engine parts บ. A ผลิตได้ QVC=40% บ. B ผลิตได้ QVC=50% diesel engines, evaporators บ. E ผลิตได้ QVC=55% บ. G ผลิตได้ QVC=30% บ. D ผลิตได้ QVC=45% transmissions, combination meters บ. C นำเข้าชิ้นส่วนอื่นๆ จากประเทศจีน engines, condensers

ข้อบทสำคัญที่เกี่ยวกับการได้ถิ่นกำเนิด

การสะสมถิ่นกำเนิดสินค้า (Accumulation : ACU) วัตถุดิบ/ชิ้นส่วน ที่ได้ถิ่นกำเนิดจากประเทศภาคี ถูก นำมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้า ให้ถือเสมือนว่า เป็นวัตถุดิบของไทย โดยต้องมี หนังสือรับรอง (Form …….)กำกับมาด้วย

กฎการส่งตรง (Direct Consignment) สินค้าจะต้องส่งตรงจากภาคีผู้ส่งออกไปยังภาคีผู้นำเข้า โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ 1. สินค้าขนผ่านประเทศนอกภาคี โดยมีหรือไม่มีการถ่ายลำ หรือเก็บรักษา ชั่วคราวในประเทศนั้น ต้องปฎิบัติตามเงื่อนไข ดังนี้ 1) สินค้านั้นไม่ได้ถูกนำไปเพื่อการค้าหรือการบริโภคในประเทศที่มิใช่ภาคี 2) การผ่านแดนนั้นเป็นไปด้วยเหตุผลทางภูมิศาสตร์ หรือเกี่ยวกับข้อกำหนดของการขนส่ง และ 3) สินค้านั้นไม่ได้ถูกดำเนินการใดๆ ในดินแดนของประเทศที่มิใช่ภาคี ที่นอกเหนือไปจาก การขนถ่ายสินค้าขึ้น การขนถ่ายสินค้าลง หรือการดำเนินการใดๆ ที่จำเป็นต่อการเก็บรักษา สินค้านั้นให้อยู่ในสภาพที่ดี

กฎการส่งตรง (Direct Consignment) 2. สินค้าจะต้องคงไว้ซึ่งถิ่นกำเนิดของสินค้านั้น 3. ในกรณีที่สินค้าถูกขนส่งผ่านแดนประเทศที่มิใช่ภาคีหนึ่งประเทศ หรือมากกว่า หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้นำเข้าอาจให้ผู้ นำเข้าต้องยื่นเอกสารต่อไปนี้ 1) Through B/L ส่งผ่านประเทศต่างๆ หรือ เอกสารการ ขนส่งต่อเนื่องอื่นๆ 2) เอกสารประกอบเพิ่มเติม เพื่อเป็นหลักฐานแสดงว่ามี การปฏิบัติตามกฎการส่งตรง

ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องขอหนังสือรับรองฯ 1. ในกรณีส่งออกสินค้าที่ได้ถิ่นกำเนิดไปชิลีมีมูลค่า FOBไม่เกิน 200 US$ โดยมีเงื่อนไขว่า การนำเข้านั้นไม่เป็นส่วนหนึ่งของการนำเข้าหนึ่งครั้งหรือหลายครั้ง การนำเข้านั้นไม่เป็นไปเพื่อความมุ่งประสงค์ในการหลีกเลี่ยงการยื่นหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า 2. หน่วยงานศุลกากรของภาคีผู้นำเข้ายกเว้นการเรียกเก็บหนังสือรับรองฯ สำหรับสินค้าที่ได้ถิ่นกำเนิดฯ

ใช้สิทธิกรณีงาน Exhibition สำหรับสินค้าที่ส่งออกไปจัดแสดง ณ ประเทศนอกภาคี และขายไประหว่าง งานแสดงสินค้าหรือหลังจากนั้น ให้แก่ประเทศภาคี  Exhibition (ในช่อง 14 ของ Form TC) และต้อง ระบุชื่อ ที่อยู่ของงาน แสดงสินค้า สินค้าต้องอยู่ในการควบคุมของศุลกากร หมายเหตุ: ศุลกากรประเทศภาคีผู้นำเข้า อาจขอหลักฐานเอกสารเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เงื่อนไขของการแสดงสินค้าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของประเทศที่มีการจัดงานแสดง สินค้า ขอ Form TC  Exhibition ช่อง 14 นำเข้าสินค้า จัดงานแสดงสินค้า ณ ประเทศนอกภาคี

ใช้สิทธิกรณี Non Party Invoicing ประเทศ นายหน้า (ญี่ปุ่น) เรียกเก็บเงิน สั่งผลิตสินค้า เรียกเก็บเงิน ผู้ส่งออก สินค้า (ไทย) ผู้นำเข้า สินค้า (ชิลี) ส่งสินค้า ขอ Form TC  Non Party Invoicing (ช่อง 14) ทั้งนี้ ใช้ Invoice ของประเทศผู้ส่งออก - ชื่อ และที่อยู่ทางกฎหมายของประเทศนายหน้า ต้องระบุไว้ในช่อง 11 - หากทราบ เลขที่และวันที่ Invoice ของประเทศนายหน้า โปรดระบุในช่อง 10 ของฟอร์มด้วย

สรุปขั้นตอนการขอใช้สิทธิประโยชน์ฯ

www.dft.go.th

www.dft.go.th

สรุปขั้นตอนการขอใช้สิทธิฯ พิกัดศุลกากรสินค้าของประเทศปลายทาง สินค้าอยู่ในรายการลดภาษีหรือไม่ กฎถิ่นกำเนิดสินค้ากำหนดไว้อย่างไร ตรวจสอบข้อมูลก่อนการใช้สิทธิฯ //fta.dft.go.th ขอ User Name กลาง ทำบัตรผู้ส่งออก-นำเข้าสินค้า ค่าใช้จ่าย 200 บาท/บัตร รับภายใน 25 นาที ลงทะเบียนทางเว็บไซด์ //reg.users.dft.go.th ตรวจสอบคุณสมบัติด้านถิ่นกำเนิดสินค้า ขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (Form TC) พิกัดฯ 01-24 ยื่นขอตรวจคุณสมบัติ การได้ถิ่นกำเนิดสินค้าได้ด้วยตนเอง แนบเอกสาร ผลการตรวจคุณสมบัติฯ ใบกำกับสินค้า (Invoice) เอกสารการขนส่ง (B/L, Airway Bill, หรือ Truck Receipt) พิกัดฯ 25-97 ยื่นขอตรวจสอบได้ที่ กองบริหารการนำเข้าและรับรองถิ่นกำเนิด หรือ สคต.ภูมิภาค

Q & A

ติดต่อ-สอบถามเพิ่มเติม HOTLINE 1385 กลุ่มงานสิทธิประโยชน์ทางการค้า 1 กองสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ โทร. 1385 ต่อ 4755 หรือ 0 2547 4819