งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจต้นทุนแหล่งกำเนิดสินค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจต้นทุนแหล่งกำเนิดสินค้า"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจต้นทุนแหล่งกำเนิดสินค้า
พฤศจิกายน 2558

2 หัวข้อสำคัญของระบบสิทธิพิเศษทางการค้า
รายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ ในการลดหรือยกเว้นภาษีขาเข้า พิกัดศุลกากร การตรวจคุณสมบัติ ถิ่นกำเนิดสินค้า (การตรวจสอบแหล่งกำเนิดสินค้า) กฎถิ่นกำเนิดสินค้า ๏ หนังสือรับรอง FORM ๏ SELF-CERTIFICATION เอกสารหลักฐานที่ใช้ในการขอรับสิทธิ

3 สินค้าอะไรบ้างที่มีการกำหนดหลักเกณฑ์การผลิต
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า : หลักเกณฑ์การผลิต สินค้าอะไรบ้างที่มีการกำหนดหลักเกณฑ์การผลิต หลักเกณฑ์การผลิตแต่ละประเทศต่างกันหรือไม่ ถ้าผลิตไม่ได้ตามหลักเกณฑ์การผลิตจะมีผลอย่างไร

4 พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (Harmonized System – HS)
หมวด (Section) มี 21 หมวด ตอน (Chapter) ใช้เลข 2 หลัก (01 ถึง 97) ประเภท (Heading) ใช้เลข 4 หลัก (01.01 ถึง 97.06) ประเภทย่อย (Sub-heading) ใช้เลข 6 หลัก ( ถึง ) 4

5 เสื้อเชิ้ตบุรุษทำด้วยฝ้าย
หมวด 11 สิ่งทอและของทำด้วยสิ่งทอ หมวด (Section) ตอนที่ 61 เครื่องแต่งกายและของใช้ ประกอบถักแบบนิตหรือโครเชต์ ตอน (Chapter) ประเภท 6105 เสื้อเชิ้ตบุรุษ ถักแบบนิตหรือโครเชต์ ประเภท (Heading) ประเภท เสื้อเชิ้ตบุรุษ ถักแบบนิตหรือโครเชต์ทำด้วยฝ้าย ประเภทย่อย (Sub-heading)

6 ข้อมูลที่ผู้ส่งออกต้องตรวจสอบ ก่อนการขอใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร
 พิกัดศุลกากรสินค้าที่ส่งออก หรือ ผู้นำเข้า  สินค้าอยู่ในบัญชีรายการที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ หรือไม่ หรือ หน่วยงานที่ออกหนังสือรับรอง  กฎถิ่นกำเนิดสินค้า  การตรวจคุณสมบัติถิ่นกำเนิดสินค้า  การขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (FORM) กองสิทธิประโยชน์ทางการค้า กรมการค้าต่างประเทศ

7 www.dft.go.th ตรวจสอบรายการที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ
ระบบให้บริการออกหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า พิกัดภาษีศุลกากร บริการอิเล็กทรอนิกส์

8 ตรวจสอบรายการที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ
พิกัดภาษีศุลกากร พิกัดศุลกากร ฟอร์ม ประเทศ

9 ที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ
รายการสินค้า ที่ได้รับสิทธิพิเศษฯ

10 www.dft.go.th สินค้าที่ต้องยื่นตรวจคุณสมบัติ ถิ่นกำเนิดสินค้า
สินค้าเกษตร (พิกัดศุลกากรที่ 01 – 24) พร้อม กับการยื่นขอหนังสือรับรองฯ แบบขอรับการตรวจ คุณสมบัติของสินค้าฯ สินค้าอุตสาหกรรม (พิกัดศุลกากรที่ 25 – 97) ก่อน การยื่นขอหนังสือรับรองฯ

11 สิ่งสำคัญที่ใช้ประกอบการพิจารณาถิ่นกำเนิดสินค้า
 รายละเอียดการใช้วัตถุดิบ รายการวัตถุดิบ  แหล่งที่มา/ถิ่นกำเนิดของวัตถุดิบ  พิกัดศุลกากรของวัตถุดิบนำเข้า  ต้นทุนวัตถุดิบ ที่ใช้ใน การผลิต สินค้า 1 หน่วย  การผลิต  รายละเอียดกระบวนการผลิต/ขั้นตอนการผลิต  ต้นทุนการผลิต  ราคาสินค้า

12 วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วน ภายในประเทศ
 วัตถุดิบ  ผลิตขึ้นภายในประเทศ และ  ผลิตถูกต้องตามหลักเกณฑ์ถิ่นกำเนิดของประเทศผู้ให้สิทธิฯ หรือข้อตกลงฯ กำหนดไว้ ใช้ราคาซื้อขาย ไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) วัตถุดิบที่ใช้กฎถิ่นกำเนิดสะสม (ACCUMULATION)

13 วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วน ภายในประเทศ
วัตถุดิบที่ใช้กฎถิ่นกำเนิดสะสม (ACCUMULATION)  กรณีใช้สิทธิ ATIGA ของ ASEAN  FORM D  กรณีใช้สิทธิ FTA นำเข้าจากประเทศคู่ภาคี  หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า ที่ออกภายใต้ข้อตกลงของแต่ละ FTA เช่น กรณีส่งไปอินโดนีเซีย (FORM D) โดยใช้วัตถุดิบ B จากมาเลเซีย จะใช้ กฎถิ่นกำเนิดสะสม วัตถุดิบ B จากมาเลเซียจะต้องมี FORM D กำกับมาด้วย เช่น กรณีส่งไปญี่ปุ่น (FORM AJ (ASEAN-JAPAN) โดยใช้วัตถุดิบ B จาก มาเลเซีย จะใช้กฎถิ่นกำเนิดสะสม วัตถุดิบ B จากมาเลเซียจะต้องมี FORM AJ กำกับมาด้วย

14 วัตถุดิบ/วัสดุ/ชิ้นส่วนนำเข้า
นำเข้าจากต่างประเทศ ใช้ราคา C.I.F. ในการคำนวณต้นทุน ซื้อในประเทศจากผู้นำเข้า หรือ ไม่ทราบแหล่งที่มา ซื้อในประเทศแต่ผลิตไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ใช้ราคาตาม Invoice ที่ซื้อขายจริง

15 ต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ค่าแรง/เงินเดือนพนักงาน รวมทั้งสวัสดิการแรงงาน ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร/โรงงาน ค่าบำรุงรักษา ค่าประกันภัย ค่าดอกเบี้ย ค่าน้ำ/ค่าไฟฟ้า/ ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ค่าออกแบบผลิตภัณฑ์ ค่าตรวจสอบ ค่าใช้จ่ายในการอบรมพนักงาน ค่าจ้างในการบริหาร ค่าขนส่งวัตถุดิบ ฯลฯ

16 ราคาสินค้า = วัตถุดิบ (ในประเทศและนำเข้า) + ต้นทุนการผลิต + กำไร
 ราคาสินค้าหน้าโรงงาน (Ex-works Price) = วัตถุดิบ (ในประเทศและนำเข้า) + ต้นทุนการผลิต + กำไร  ราคาสินค้า F.O.B. = ราคาสินค้าหน้าโรงงาน + ค่าขนส่งจากโรงงานไปยังท่าเรือ หรือด่านพรมแดนที่ส่งออก

17 วิธีที่ 2 วิธีการคำนวณสัดส่วนมูลค่าการผลิตในภูมิภาค
(Regional Value Content : RVC ) วิธีที่ 1 มูลค่าวัตถุดิบในประเทศ + ต้นทุนการผลิต + กำไร+ ค่าขนส่ง X > 40% ราคา F.O.B. วิธีที่ 2 ราคา F.O.B. – มูลค่าวัตถุดิบนำเข้า X 100 > 40% ราคา F.O.B.

18 วิธีการยื่นคำขอรับการตรวจคุณสมบัติฯ
ยื่นเอกสารแบบ Manual ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิส สำนักบริการการค้าต่างประเทศ ชั้น 3 กรมการค้าต่างประเทศ ส่งข้อมูลทาง Internet ยื่นคำรับรองข้อมูลการผลิตฯ ที่กองบริหารการนำเข้าและรับรองถิ่นกำเนิด ชั้น 5 ยื่นที่สำนักงานการค้าต่างประเทศในส่วนภูมิภาค (8 แห่ง) : เชียงใหม่ สงขลา (หาดใหญ่) ชลบุรี สระแก้ว หนองคาย เชียงราย ตาก และมุกดาหาร แบบขอรับการตรวจฯ

19 แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติฯ
ยื่นเอกสารแบบ Manual คู่มือการรับบริการยื่นขอตรวจสอบฯ ขั้นตอนการบันทึกและส่งข้อมูลทาง internet ประกาศแบบฟอร์ม - ตัวอย่าง บริการจากกรม ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม แบบขอรับการตรวจคุณสมบัติฯ

20 เอกสารแบบ Manual

21 รายละเอียดวัตถุดิบนำเข้า
พิกัดศุลกากรและประเทศ ถิ่นกำเนิดของวัตถุดิบ

22 ยื่นเอกสารแบบ Internet ตรวจถิ่นกำเนิดสินค้า บริการอิเล็กทรอนิกส์

23 ขั้นตอนการยื่นคำขอฯ ทาง Internet
ลงทะเบียนเพื่อพิมพ์คำขอรับ Username / Password เจ้าหน้าที่รับรองผลการตรวจฯ ยื่นคำขอลงทะเบียนให้เจ้าหน้าที่อนุมัติ Password Login เข้าใช้ระบบ ยื่นคำรับรองข้อมูลให้เจ้าหน้าที่ บันทึกข้อมูลของสินค้า พิมพ์คำรับรองข้อมูลจากระบบ ส่งข้อมูลให้ระบบประมวลผล

24 วิธีและคู่มือการลงทะเบียน
ลงทะเบียนใหม่ วิธีและคู่มือการลงทะเบียน

25 เอกสารที่ต้องนำมายื่น

26 ยื่นคำขอลงทะเบียนให้เจ้าหน้าที่อนุมัติ PASSWORD

27 LOG IN เข้าใช้ระบบ

28 ข้อมูลผู้ขอ

29 ชื่อสินค้า, ประเทศ พิกัดศุลกากร โรงงานผู้ผลิตสินค้า

30 กระบวนการผลิต

31 บันทึกรายการเกี่ยวกับวัตถุดิบ เอกสารอ้างอิงกรณีวัตถุดิบสะสม

32 รายการวัสดุนำเข้า รายการวัสดุในประเทศ

33 คำนวณ วัตถุดิบสะสม บันทึก

34 ส่งข้อมูลภายใน 30 วัน ส่งข้อมูล

35 พิมพ์คำรับรองข้อมูลฯ มายื่นภายใน 30 วัน

36 นำคำรับรองข้อมูลการผลิตฯ มายื่นให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบ

37

38

39 การตรวจสอบย้อนหลัง

40 ข้อกำหนดในการตรวจสอบย้อนหลัง ตามความตกลงฯ
ศุลกากรประเทศผู้นำเข้าขอตรวจสอบย้อนหลัง หนังสือรับรองฯ ที่ผู้นำเข้าสำแดงเพื่อขอรับสิทธิพิเศษฯ ได้ ภายในระยะเวลาที่กำหนด (3-5 ปี) - สหภาพยุโรป (Form A) ภายใน 3 ปี นับตั้งแต่วันสิ้นปีของวันที่ออก Form A - อาเซียน (Form D) และ FTA (เช่น Form E Form AK) ภายใน 3 ปี นับตั้งแต่วันที่ออก Form - FTA ไทย–ออสเตรเลีย ภายใน 5 ปี นับตั้งแต่วันที่ออก Form

41 ข้อกำหนดในการตรวจสอบย้อนหลัง ตามความตกลงฯ
การดำเนินการของศุลกากรประเทศผู้นำเข้า ในการขอตรวจสอบย้อนหลัง - มีหนังสือแจ้งขอตรวจสอบเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างเป็นทางการ ถึงหน่วยงานที่ออกหนังสือรับรองฯ - แสดงหนังสือรับรองฯ ฉบับที่มีข้อสงสัย (หรือสำเนา) พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) - แจ้งข้อสงสัยหรือเหตุผลที่ขอตรวจสอบ

42 ข้อกำหนดในการตรวจสอบย้อนหลัง ตามความตกลงฯ
ต้องแจ้งผลการตรวจสอบภายในระยะเวลาที่กำหนด - สหภาพยุโรป : ภายใน 6 เดือน ขยายให้อีก 4 เดือน รวมเป็น 10 เดือน นับตั้งแต่วันที่ในหนังสือแจ้งขอตรวจสอบ อาเซียน และ FTA : ภายใน 3 เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้ง ขอตรวจสอบ อาเซียน – เกาหลี : ภายใน 2 เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้ง

43 รับหนังสือแจ้งขอตรวจสอบจากประเทศผู้นำเข้า/ มีข้อสงสัย/
กระบวนการตรวจสอบ รับหนังสือแจ้งขอตรวจสอบจากประเทศผู้นำเข้า/ มีข้อสงสัย/ ได้รับเบาะแส/ ฯลฯ ขอความร่วมมือหน่วยงานออก Form ตรวจสอบความถูกต้องของ Form แจ้งผู้ส่งออกให้ชี้แจงรายละเอียดการผลิตสินค้าตาม Form ที่ถูกตรวจสอบ พร้อมแสดงเอกสารการส่งออกและเอกสารการได้มาซึ่งวัตถุดิบในการผลิต ตรวจสอบข้อมูลและเอกสารหลักฐาน สรุป/แจ้งผลการตรวจสอบ

44 ผลจากการตรวจสอบ ไม่ถูกต้อง
- ตรวจพบการปลอมแปลงเอกสาร/เอกสารเท็จ - มีความเกี่ยวข้องกับการแอบอ้างถิ่นกำเนิดสินค้า - ติดต่อผู้ส่งออกไม่ได้ - ผู้ส่งออกไม่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ/ไม่ชี้แจง - สินค้าผลิตไม่ถูกต้องตามกฏว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า/พิสูจน์ไม่ได้ 1. แจ้งเพิกถอนการอนุมัติ Form / สินค้า 2. ดำเนินมาตรการตามประกาศกรมฯ - ระงับการออก Form (Blacklist) - ระงับการติดต่อกับกรมฯ ของผู้รับมอบอำนาจ (Blacklist) - ตรวจเอกสารหลักฐานเข้มงวดก่อนขอ Form (Watch List)

45 โครงการการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (Self – Certification)
ด้วยตนเองของอาเซียน (Self – Certification)

46 ขั้นตอนการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง (Self-Certification)
ประเทศที่สามารถใช้สิทธิ ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน กัมพูชา ผู้ประกอบการยื่นขอขึ้นทะเบียน ประเทศที่สามารถใช้สิทธิ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ลาว เวียดนาม โครงการที่ 1 โครงการที่ 2 แสดงเอกสารหลักฐาน 1.สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล 2.สำเนาบัตรประชาชน / สำเนาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว / สำเนาหนังสือเดินทาง ฯลฯ 3.สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร หรือสำเนาทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.20) 4.แผนที่แสดงสถานที่ทำการ เอกสารเพิ่มเติม กรณีเป็นผู้ผลิต 1.สำเนาเอกสารหลักฐานการอนุญาตประกอบกิจการเป็นผู้ผลิต 2.เอกสารที่แสดงกระบวนการผลิตสินค้าที่ส่งออก 3.แผนที่แสดงสถานที่ผลิตสินค้าและสถานที่เก็บสินค้า แสดงเอกสารหลักฐาน สำเนาบัตรประชาชน / สำเนาใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว / สำเนาหนังสือเดินทาง ฯลฯ 3.สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร หรือสำเนาทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.20) 4.สำเนาเอกสารหลักฐานการอนุญาตประกอบกิจการเป็นผู้ผลิต 5.เอกสารที่แสดงกระบวนการผลิตสินค้าที่ส่งออก 1.สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล 2. 6.แผนที่แสดงสถานที่ทำการ สถานที่ผลิต และสถานที่เก็บสินค้า 7.แบบแจ้งรายชื่อและตัวอย่างลายมือชื่อของผู้ประสงค์จะให้เป็นผู้มีอำนาจลงนามรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง จำนวนไม่เกินสามคน กองบริหารการนำเข้าและรับรองถิ่นกำเนิด (บร.) พิจารณา คุณสมบัติของผู้ขอขึ้นทะเบียน 1.เป็นนิติบุคคลที่เป็นผู้ส่งออกสินค้า 2.มีประวัติการได้รับหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (Form D) 3.ไม่ถูกระงับการออกหนังสือรับรอง 4.ไม่เคยถูกเพิกถอนการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิ 5.ไม่มีกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการเป็นบุคคลเดียวกันกับนิติบุคคลที่เคย ถูกเพิกถอนการขึ้นทะเบียน คุณสมบัติของผู้ขอขึ้นทะเบียน 1.เป็นนิติบุคคลที่เป็นผู้ส่งออกสินค้าที่ตนเองเป็นผู้ผลิต 2.มีประวัติการได้รับหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (Form D) 3.ไม่ถูกระงับการออกหนังสือรับรอง 4.ไม่เคยถูกเพิกถอนการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิ 5.ไม่มีกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการเป็นบุคคลเดียวกันกับนิติบุคคลที่เคย ถูกเพิกถอนการขึ้นทะเบียน

47 อายุการขึ้นทะเบียนมีเวลา 2 ปี
บร. แจ้งหมายเลขทะเบียน การเป็นผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิต่อผู้ประกอบการ อายุการขึ้นทะเบียนมีเวลา 2 ปี ให้ผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าในใบกำกับสินค้า แต่หากไม่สามารถแสดงใบกำกับสินค้าได้ให้รับรองในใบเรียกเก็บเงินค่าสินค้า หรือใบสั่งปล่อยสินค้า หรือใบรายการหีบห่อสินค้า ให้ผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าในใบกำกับสินค้า ผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิต้องดำเนินการดังนี้ 1.จัดเก็บเอกสารในการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี นับแต่วันที่ทำการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง 2.รายงานการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเองต่อ บร. ทุกเดือน 3.ยินยอมให้เจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสถานที่ประกอบการ 4.แจ้งข้อมูลกรณีเลิกกิจการ หรือการเปลี่ยนแปลงซึ่งเกี่ยวกับนิติบุคคลต่อ บร. กรมการค้าต่างประเทศจะเพิกถอนการขึ้นทะเบียนการเป็นผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิ หากผู้ส่งออกฯ ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ดังนี้ 1.ไม่รายงานการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง ตั้งแต่สามครั้งขึ้นไปโดยไม่มีสาเหตุอันควร 2.ไม่ยินยอมให้เจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสถานที่ประกอบการ 3.ขาดคุณสมบัติตามที่ได้แจ้งไว้ในคำขอขึ้นทะเบียน 4.รับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง ไม่ถูกต้องด้วยการแอบอ้างถิ่นกำเนิดสินค้า

48 การเข้าสู่ระบบการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ส่งออกที่ได้รับสิทธิ
รับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง (Certified Exporter) ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ขั้นตอนที่ 1 เข้าไปที่เว็บไซต์ของกรมการค้าต่างประเทศ ขั้นตอนที่ 2 คลิ๊กที่ Banner หรือ

49 การ Log in เพื่อยื่นคำขอขึ้นทะเบียนฯ
- การ Log in เพื่อยื่นคำขอขึ้นทะเบียนฯ ใส่ Username, Password และ Security Code จากนั้น Login ถ้ายังไม่มี Username , Password ให้คลิก ที่ Banner เพื่อลงทะเบียนขอ Username กลาง

50 กองบริหารการนำเข้าและรับรองถิ่นกำเนิด สอบถามเกี่ยวกับการใช้งานระบบ
สอบถามเพิ่มเติม กองบริหารการนำเข้าและรับรองถิ่นกำเนิด การตรวจคุณสมบัติถิ่นกำเนิดสินค้า โทร , หรือ 1385 ต่อ 4806, 4808 การตรวจสอบย้อนหลัง โทร หรือ 1385 ต่อ 4809 การรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง (Self – Certification) โทร หรือ 1385 ต่อ 4803 สอบถามเกี่ยวกับการใช้งานระบบ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ 1385 ต่อ 4603


ดาวน์โหลด ppt การตรวจต้นทุนแหล่งกำเนิดสินค้า

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google