งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

FTA.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "FTA."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 FTA

2 สถานการณ์เศรษฐกิจโลก
การค้าขยายตัวและมีแนวโน้มเปิดเสรี มากขึ้น FTA การเจรจา WTO ชะงักงัน ประเทศต่างๆ มีแนวโน้มทำ FTA

3 สาระสำคัญ สองประเทศขึ้นไป ตกลงจะขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน
ลักษณะ เขตการค้าเสรี (Free Trade Area -FTA) ประกอบด้วย สองประเทศขึ้นไป ตกลงจะขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน พยายามจะลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการและการลงทุน

4 ใครทำ FTA ? สหรัฐฯ 20% ยุโรป 70% เอเชีย 8% Source : WTO

5 สาระสำคัญ สถานการณ์การแข่งขันในตลาดโลกทวีความรุนแรงและมุ่งสู่การเปิดเสรี ประเทศคู่ค้าสำคัญ เช่น สหรัฐฯ ต่างหันไปทำ FTA จีนเข้าเป็นสมาชิก WTO ทำให้เศรษฐกิจแข็งแกร่ง มีเงินทุนไหลเข้าจำนวนมาก หากไทยอยู่นิ่งเท่ากับถดถอย ขีดความสามารถในการแข่งขันและส่วนแบ่งตลาดในประเทศคู่ ค้าสำคัญจะลดลง

6 สาระสำคัญ ทำ FTA เพื่อลดข้อจำกัดทางศุลกากร และ ขีดจำกัดทางการค้าต่าง ๆ (ช่วยให้การเจรจาลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกันง่ายขึ้น) เพื่อเพิ่มมูลค่าการค้าและการลงทุน ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจและทางการค้า

7 Free Trade Area (FTA) เขตการค้าเสรี
การลดภาษีสินค้าขาเข้าระหว่างกันเหลือ 0% ภายใน เวลาที่กำหนด และยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี เปิดเสรีการค้าบริการ หรือให้สิทธิต่างชาติเข้ามาประกอบ ธุรกิจบริการเช่นเดียวกับคนในประเทศไทย เปิดเสรีการลงทุน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอื่น ๆ

8 เป้าหมายของการทำ FTA เพิ่มโอกาสการส่งออก โดยขยายตลาดทั้งตลาดเดิมและตลาดใหม่ ลดอุปสรรคทางการค้าทั้งภาษีและมิใช่ภาษี เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างอำนาจต่อรองทางเศรษฐกิจ การเมือง ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ สร้างความสัมพันธ์ให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น

9 การทำข้อตกลงการค้าแบบทวิภาคี (Bilaterial Preferential Trade Agreement)
สาระสำคัญ การทำข้อตกลงการค้าแบบทวิภาคี (Bilaterial Preferential Trade Agreement)

10 ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้างในปัจจุบัน ?
คู่เจรจาของไทย 8 ประเทศ 2 กลุ่มเศรษฐกิจ

11 เจรจาเสร็จแล้ว : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน ญี่ปุ่น
เจรจาเสร็จแล้ว : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน ญี่ปุ่น อยู่ระหว่างการเจรจา 5 ประเทศ + 2 กลุ่มเศรษฐกิจ สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย เปรู

12 BIMSTEC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน) EFTA (สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และลิกเตนสไตน์)

13 ไทยมีการทำ FTA ในระดับต่าง ๆ 1) ระดับภูมิภาค (กลุ่มประเทศ กับ กลุ่มประเทศ) อาเซียน-จีน (มีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2004) อาเซียน-อินเดีย อาเซียน-ญีปุ่น อาเซียน-สหรัฐฯ BIMSTEC 2) ระดับทวิภาคี (2 ประเทศ) ไทย-บาห์เรน ไทย-จีน ไทย-อินเดีย ไทย-เปรู ไทย-ออสเตรเลีย

14 มีผลบังคับใช้ - จีน. 1 ตุลาคม 2546 (2003) - อินเดีย
มีผลบังคับใช้ - จีน ตุลาคม 2546 (2003) - อินเดีย มีนาคม 2547 (2004) - ออสเตรเลีย มกราคม (2005) - นิวซีแลนด์ กรกฎาคม (2005) - ญี่ปุ่น(JTEPA) 3 เมษายน 2550 (2007)

15 FTA อยู่ระหว่างดำเนินการเจรจาสหรัฐอเมริกา - เปรู - บาห์เรน กลุ่มประเทศ BIMSTEC ,EFTA

16 9 FTA China USA India Japan Bahrain BIMST-EC Peru ปัจจุบันทำอยู่กับ 9 ประเทศ ซึ่งมีการค้ากับไทย 43.8% with AFTA 62.5% รักษาตลาดเดิม (Market Strengthening) : ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ขยายตลาดใหม่ (Market Broadening & Deepening) ตลาดที่มีศักยภาพ: จีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ตลาดที่เป็นประตูการค้า (Gateway) : บาห์เรน เปรู ตลาดภูมิภาค: BIMST-EC Australia New Zealand

17 EU NAFTA ASEAN + 3 BIMST -EC ไทยควรจะเจรจากับประเทศใดต่อไป ?
Candidates : EU, Mercosur, South Africa Canada, Korea, Mexico South Africa important gateway Mercosur ซึ่งเป็นประเทศสำคัญในอมเริกาใต้และเป็นตลาดใหม่ของไทย เราควรมีนโยบายเกี่ยวกับประเทศเหล่านี้อย่างไร คู่ค้าที่สำคัญอีกประเทศ คือ เกาหลีใต้


ดาวน์โหลด ppt FTA.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google