สาขารับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
Service Plan 5 สาขาหลัก.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การพัฒนางานทางห้องปฏิบัติการ เครือข่ายเทคนิคการแพทย์ เขต ๑ เสาวรินทร์ มีชูทรัพย์ กลุ่มงานพยาธิวิทยาคลินิค.
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาขารับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ เขตสุขภาพที่ 1 20-21 มีนาคม 2560

แผนยุทธฯ ปี 60 - 64 SP สาขา 13 EC สาขา 5 เพิ่มปลูกถ่าย ขาดแคลนอวัยวะ คุณภาพอวัยวะ และการดูแล การกระจายตัวของศูนย์ปลูกถ่ายไม่ดี SP สาขา 13 EC สาขา 5 เพิ่มปลูกถ่าย ลดการตาย ได้คิวเร็ว แผนยุทธฯ ปี 60 - 64 (1) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน (2) สื่อสารประชาสัมพันธ์ (3) พัฒนา ระบบบริการ (4) พัฒนา บุคลากร (5) พัฒนาระบบข้อมูล องค์ความรู้ และการวิจัย 7 BBs

ผลการดำเนินงานและเป้าหมายปี 2560 รพ. สถิติ 5 ปี ปี 2559 HD 2558 เป้า 2560 เชียงราย ฯ 16 2 2,040 20 ลำปาง 5 1 1,738 17 นครพิงค์ 6 1,301 13 ลำพูน 4 N/A พะเยา แพร่ น่าน ศรีสังวาลย์ รวม 27 9 50

Situation Analysis รพ. ระดับ สถานการณ์ รูปแบบ เชียงราย ฯ A มิย 50 - 2 ดำเนินการ คาดการณ์ TC Full time อื่นๆ เชียงราย ฯ A มิย 50 - 2 ลำปาง กย 57 มี Flow ให้ Incharge ปฏิบัติงานร่วมกับคณะกรรมการรพ. นครพิงค์ ตค 58 มีผู้ประสานงานใน ICU.neuro & surg ลำพูน S มค 59 มี RN on call 2 คน พะเยา ปี 60 มีระบบ Living donor กำลังวางระบบ Decease donor แพร่ ประชุมคณะกรรมการแล้ว มอบรองฯ แพทย์ดำเนินการ น่าน ปี 61 มีคณะกก./สถานที่และอุปกรณ์พร้อมแต่ไม่มี neuro surg กำลังวางระบบ Decease donor ศรีสังวาลย์ ปี 62 คณะทำงาน Service plan/ปชส.+รับผู้แสดงความจำนงบริจาคดวงตาโดยทีมจักษุแพทย์ พยาบาลจักษุ และพยาบาลOR ยังไม่ได้ดำเนินการด้านรับบริจาคอวัยวะ

ด้านระบบบริการ สิ่งที่ต้องการการสนับสนุน ปัญหาและอุปสรรค 1. การประชาสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ เช่น โฆษณาTV สถานที่ราชการ วัด และพรบ.การบริจาคอวัยวะ 2. งบประมาณ ทีมวิทยากรในการจัดอบรม และหลักสูตรอบรมสำหรับแพทย์ระยะสั้น 3 เดือน (Kidney & Cornea transplant) หรือ มีโปรแกรม self learningที่update ความรู้ให้สามารถพัฒนาทักษะได้อย่างต่อเนื่อง 3. ทุนวิจัย และสนับสนุนการเผยแพร่ผลงาน และช่องทางสำหรับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ 4. งบประมาณสิ่งก่อสร้าง และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ปัญหาและอุปสรรค 1. เจตคติ ความร่วมมือของบุคลากร และประชาชน ทำให้ผู้ป่วย Brain death ถูกละเลยไม่ได้รับการวินิจฉัยสมองตาย และการขอรับบริจาคอวัยวะ 2. ศักยภาพ/ความเชี่ยวชาญของแพทย์และพยาบาล เช่น Declare brain death, Donor care, Cornea transplant 3. การวิจัย เป็นมาตรฐานของ EC แต่ต้องหาทุนวิจัยและแหล่งเผยแพร่ผลงานเอง 4. Transplant unit (one stop service)

ด้านภาวะผู้นำและธรรมาภิบาล ปัญหาและอุปสรรค การประชุมวางแผนการทำงานร่วมกันกับองค์กรภายนอกในระดับจังหวัด (กาชาด) และเครือข่าย เวทีนำเสนอข้อมูลแก่ผู้บริหาร เป็นระยะ เพื่อพัฒนางานร่วมกันเป็นทีมทั้งเครือข่าย สิ่งที่ต้องการการสนับสนุน 1. จัดเวที/ช่องทางสนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานรวมกันในรพ. เครือข่าย และองค์กรภายนอก 2. การศึกษาดูงานรพ.ที่ประสบ ความสำเร็จด้านการรับบริจาคและ ปลูกถ่ายอวัยวะ/สภากาชาดไทย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

ด้านกำลังคนด้านสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรค ไม่มีพยาบาล Full time (ยกเว้นรพ.เชียงรายฯ มี RN 2,ธุรการ 1) 2. บุคลากรที่มีอยู่ไม่เพียงพอต่อการขยายบริการ การนิเทศและทำงานร่วมกับเครือข่าย สิ่งที่ต้องการการสนับสนุน จัดสรรอัตรากำลังให้สอดคล้องกับภาระงาน มีกรอบอัตรากำลังและความก้าวหน้าในวิชาชีพอย่างชัดเจน ต้องการแพทย์ศัลยกรรมระบบประสาทเพิ่ม 1 – 2 คน (รพ.ลำพูน)

ด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ ปัญหาและอุปสรรค 1. อุปกรณ์ทางการแพทย์ในการดูแลผู้รับบริจาคอวัยวะ ได้แก่ Blood gas, Warmer, เครื่องช่วยหายใจชนิด transfer 2. การตรวจ HLA และ cross math สิ่งที่ต้องการการสนับสนุน 1. สนับสนุนอุปกรณ์หรืองบประมาณ ให้มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการ ดูแลผู้รับบริจาคอวัยวะอย่าง เหมาะสม 2. มีระบบการตรวจ HLA และ cross math จากส่วนกลาง ให้สามารถ นัดจองคิวหรือตรวจเช็ค online ได้ เพื่อความสะดวกแก่ผู้ป่วยและ ผู้ปฏิบัติงาน

ด้านค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรค 1. ค่าใช้จ่ายที่ได้รับจากกองทุนต่างๆ ไม่เพียงพอ 2. ค่าตอบแทนพิเศษแก่บุคลากรที่ ต้องขึ้นปฏิบัติงาน On call สิ่งที่ต้องการการสนับสนุน 1. ปรับเพิ่มค่าใช้จ่ายตาม Protocol จากกองทุนต่าง ๆ 2. การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษอย่าง เหมาะสมแก่ผู้ขึ้นปฏิบัติงาน On call ทุกคน

ด้านระบบข้อมูลข่าวสาร ปัญหาและอุปสรรค การจัดเก็บข้อมูลไม่เป็นระเบียบ ทางรพ.ต้องออกแบบการจัดเก็บเอง ทำให้การสืบค้นล่าช้า ข้อมูลผิดพลาด เสี่ยงต่อการสูญหาย ถ้าต้องการข้อมูลอื่นๆ ต้องประสานเครือข่ายเอง ล่าช้าและเพิ่มภาระงาน 2. การส่งข้อมูลและรายงานให้เครือข่ายล่าช้า มีความซ้ำซ้อนต้องส่งหลายหน่วยงาน ควรมีการใช้ข้อมูลร่วมกัน สิ่งที่ต้องการการสนับสนุน มีระบบ Data center ให้ทุกรพ.ใช้ร่วมกัน ทั้ง 3 ส่วน คือ ผู้บริจาคอวัยวะสมองตาย ผู้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะ และการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะ ซึ่งทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถดึงข้อมูล หรือสืบค้นข้อมูลแบบ real time ในภาพรวมได้

(ยุทธ 3) Service delivery (ยุทธ 3) ขยาย Donor center ในรพ.ระดับ S จำนวน 4 แห่ง (60=พะเยา&แพร่ ,61=น่าน ,62=ศรีสังวาลย์) กำหนดให้มีโครงสร้างและระบบการทำงานที่ชัดเจน Health Work Force (ยุทธ 4) จัดทำแผนฯ พัฒนาทักษะเฉพาะทางของพยาบาลวิชาชีพ 5 ปี พัฒนา regional kidney retrieval team (รพ.เชียงรายฯ) จัดอบรมเครือข่ายบริการรับบริจาคอวัยวะ ร่วมกับเขต/ส่วนกลาง Health Information (ยุทธ 2/5) พัฒนาข้อมูล(ร่วมกับส่วนกลาง) และสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อประชาชน Technology (ยุทธ 3) สนับสนุน technology ดูแล resuscitate donor ถนอมอวัยวะ การตรวจวินิจฉัยสภาพหรือความผิดปกติของอวัยวะที่ปลูกถ่าย Finance (ยุทธ 4) พัฒนาแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม Governance (ยุทธ 5) ทบทวนและจัดทำยุทธศาสตร์ 5 ปี ร่วมกับภาคีเครือข่าย การกำกับติดตาม (Service plan) และจัดทำคู่มือปฏิบัติงานการปลูกถ่ายไตกระทรวง สธ. (ร่วมกับส่วนกลาง)

สถานการณ์และมาตรการดำเนินงาน ปี 2560 - 2564 เป้าหมาย สถานการณ์ มาตรการ ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64 1.มี Donor centerคุณภาพเพิ่มขึ้น มีรพ.ระดับ A-M1 11 แห่ง(เป็น Donor center 3 แห่ง Tx center 1 แห่ง) แต่โครงสร้างและผู้รับผิดชอบยังไม่ชัดเจน Donor centerเพิ่มขึ้น 1 แห่ง (ลำพูน) Donor center เพิ่มขึ้น1 แห่ง (พะเยา/แพร่) รพ.ระดับ A-S 8 แห่งเป็น Donor center รพ.ระดับ A-M1 8/11 แห่งเป็น Donor centerคุณภาพ 2.จำนวนการปลูกถ่ายไตสำเร็จ 1.อยู่ในช่วง Learning curve 2.Uro surgeon ไม่เพียงพอ มี Tx.center ระดับ 2 (ชร.)

เป้าหมายการดำเนินงานปี 2560 GAP มาตรการ KPI Essential Task 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.Structure ยังไม่มีโครงสร้าง บทบาทไม่ชัดเจน เพิ่มขีดความสามารถรพ.ระดับ S,M1 ในการรับบริจาคอวัยวะ 1.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ (2 ครั้ง)/ส่งบุคลากรอบรม (ชร./ลำพูน/กาชาด) 2.ประชุมคณะกก.เครือข่าย 1.จำนวนผู้บริจาคอวัยวะสมองตายในรพ.ระดับ A > 5 ราย S/M1>1 ราย 2.มีจำนวน Donor center เพิ่มขึ้น แพทย์และพยาบาลมีความรู้เรื่องการบริจาคอวัยวะ มีโครงสร้างและระบบการทำงานรับบริจาคอวัยวะ มีผู้บริจาคอวัยวะสมองตายตามเป้าหมาย มีการประชุมเครือข่าย และแผนการทำงานร่วมกัน 2.System ยังไม่ได้วางระบบ/ครุภัณฑ์ไม่เพียงพอ 1.จำนวนผู้บริจาคอวัยวะสมองตายในรพ.ระดับ A > 1-2 ราย 2.จำนวน Donor center เพิ่มขึ้น(ลำพูน) จำนวนผู้บริจาคอวัยวะสมองตายในรพ.ระดับ A > 2-4 ราย A > 4-6 ราย S/M1>1-2 ราย A > 6-9 ราย 2.จำนวน Donor center เพิ่มขึ้น(พะเยา/แพร่)) 3.Staff ไม่มีFull time/ไม่มีประสบการณ์

“การให้ที่ยิ่งใหญ่ คือ การให้ โอกาส ที่สามารถเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตคนได้”