แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล พ.ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
TQA ในกลุ่ม พสว. หน่วยงานย่อย : - ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มอายุ 4 งาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
WU.HR.:Quality Of Work Life ( ๒๕๕๙ - ๒๕๖๒ ). วิสัยทัศน์ (Vision) “ เป็นองค์การธรรมรัฐ เป็นแหล่ง เรียนรู้ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่ สากล ”
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การจัดทำแผนเงินบำรุง
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
โครงการประเมินสถานภาพ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
การดำเนินงานต่อไป.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
การขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กรอบการจัดทำแผนปีงบประมาณ 2561
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล พ.ศ. 2560-2565 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี

เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ แผน 20 ปี กสธ. เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน O riginality P eople centered approach M astery H umility MoPH เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

แผน 20 ปี กสธ. กรอบแนวคิด ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564) ประเทศไทย 4.0 นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และการปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การบูรณาการ (Integrated) องค์รวมและผสมผสาน (Holistic & Comprehensive) การมีส่วนร่วมของพหุภาคี (Multisectoral) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล กรอบแนวคิด ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564) สู่ความยั่งยืน Phase3 (2570-2574) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 (2565-2569) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 (2575-2579)

4 Excellence Strategies (16 แผนงาน 48 โครงการ) แผน 20 ปี กสธ. 4 Excellence Strategies (16 แผนงาน 48 โครงการ) 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยง ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 1. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ 4. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ/เขตเศรษฐกิจพิเศษ P&P Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence 1. การวางแผนความต้องการอัตรากำลัง 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน 3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ กำลังคนด้านสุขภาพ 4. การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและ ภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ 1. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 2. ระบบหลักประกันสุขภาพ 3. ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และ การคุ้มครองผู้บริโภค 4. ระบบธรรมาภิบาล

People Excellence งบดำเนินงาน 500 ล้านบาท/ปี โครงการ/งบประมาณ People Excellence งบดำเนินงาน 500 ล้านบาท/ปี สอดคล้องปฏิรูป – 9 โครงการ 1. การวางแผนความต้องการอัตรากำลัง (HRP) 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน (HRD) 3)โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการวางแผนกำลังคน 1) โครงการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพ 2) โครงการพัฒนาทักษะ hard skill และ soft skill 3) โครงการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขด้าน Talent Management 2) โครงการจัดทำ แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติงาน และติดตามประเมินผลด้านกำลังคน 1)โครงการคาดการณ์และวิเคราะห์อัตรา กำลังบุคลากรทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค สป.(สบช.) สป.(สบช./ บค.) สป.(สำนักวิชาการ/สวรส.) สป.(สบช./บค.) สป.(บค.) สป.(บค./กพร.) 3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ กำลังคนด้านสุขภาพ (HRM) 4. การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและ ภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ 1) โครงการบริหารจัดการกำลังคน 2) โครงการสร้างขวัญและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 1) โครงการพัฒนาเครือข่าย อสม. และ อปท. 2)โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนจัดการสุขภาพด้วยตนเอง 3)โครงการพัฒนาเครือข่าย 3) โครงการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) สบส. สป.(ICT) สป.(บค./สนย.) สป.(บค./สนย.) สบส. สบส.

เป้าหมายของการบริหารทรัพยากรบุคคล สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์ จัดสรรทรัพยากร ให้เหมาะสม ส่งเสริมให้ทำงานเต็มศักยภาพ หาคนดี คนเก่ง เข้ามาทำงาน พัฒนาให้เป็นคนดี คนเก่ง ยิ่งขึ้น รักษาให้อยู่นานๆ

แกนหลักการบริหารทรัพยากรบุคคล หลักสมรรถนะ (Competency) หลักผลงาน (Performance) หลักคุณธรรม (Merit) หลักคุณภาพชีวิต (Work Life Quality) กระจายความรับผิดชอบในการบริหารทรัพยากรบุคคล HR Decentralization สำนักงาน ก.พ. 10 กุมภาพันธ์ 2548

กรอบมาตรฐานความสำเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ประสิทธิผลของ การบริหารทรัพยากรบุคคล  ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทำงาน และระบบงาน  การรักษาไว้ซึ่งข้าราชการที่จำเป็นต่อการบรรลุ เป้าหมาย  สวัสดิการและสิ่งอำนวยความสะดวก  ความพึงพอใจต่อนโยบาย/มาตรการ .ในการบริหารทรัพยากรบุคคล  ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ทุกระดับ ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์  การเรียนรู้และพัฒนา  ระบบการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน  นโยบาย แผนงาน และมาตรการด้านทรัพยากรบุคคล  การวางแผนและบริหารกำลังคน  การบริหารกำลังคนกลุ่มที่มีทักษะและสมรรถนะสูง ความพร้อมรับผิด ด้านการบริหาร- ทรัพยากรบุคคล  การสร้าง พัฒนา และสืบทอดตำแหน่ง ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล  การตัดสินใจบนหลักความสามารถ หลักคุณธรรมหลักนิติธรรม หลักสิทธิมนุษยชน  กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล  ระบบฐานข้อมูล  ความโปร่งใสของกระบวนการ และพร้อมรับการตรวจสอบ  ความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในกิจกรรมการบริหาร ทรัพยากรบุคคล  เทคโนโลยีเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล

แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ประจำปี 2560 – 2565 วิสัยทัศน์ “ เป็นเลิศด้านบริหาร ได้มาตรฐานด้านบริการ” พันธกิจ พัฒนาหน่วยงานทั้งหน่วยบริหารและหน่วยบริการ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน 2. สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในรูปแบบของเครือข่ายเพื่อให้ประชาชนเข้าถึง บริการทุกระดับ 3 พัฒนาสถานบริการตามแนวชายแดนเพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 4.สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน

ยุทธศาสตร์ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เน้นการวางแผนการบริหารอัตรากำลังและปรับอัตรากำลังให้เหมาะสมเพียงพอกับภารกิจ พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งในส่วนของเครื่องมือ วิธีการและผู้ประเมิน เพื่อให้สามารถบริหารงานบุคคลในการขึ้นเงินเดือน พัฒนา หรือเลื่อนตำแหน่งที่เหมาะสม พัฒนาผู้บริหารให้มีภาวะผู้นำ มีวิสัยทัศน์และพฤติกรรมที่สอดคล้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่ สร้างและบริหารจัดการฐานข้อมูลกำลังคนให้เป็นปัจจุบัน สร้างสภาพแวดล้อมต่อการปฏิบัติงาน และจัดหาสวัสดิการรูปแบบใหม่ๆ ที่จะทำให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุขและงานบรรลุผลตามเป้าหมาย ปรับแผนพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับต้นแบบสมรรถนะ และยุทธศาสตร์ขององค์กร รวมถึงจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) ที่เน้นการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง สร้างบุคลากรผู้รับผิดชอบงานบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

ยุทธศาสตร์ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล 5 มิติ 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติที่ 1 : ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Alignment) มิติที่ 2 : ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Operational Efficiency) มิติที่ 3 : ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM HRD HRE HRH Program Effectiveness) มิติที่ 4 : ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Accountability) มิติที่ 5 : คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน (Quality of Work Life) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การกำหนดกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (Strategy Development & leadership) เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการบริหารงานและการเปลี่ยนแปลง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การบริหารจัดการระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (Process Management) และพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้เกิดประสิทธิผลเพื่อรองรับภารกิจและวิสัยทัศน์ของสนง. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การจัดการระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน

ยุทธศาสตร์ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล 19 เป้าประสงค์ มิติที่ 1 : ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Alignment) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การกำหนดกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (Strategy Development & leadership) เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการบริหารงานและการเปลี่ยนแปลง เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ 1.1 : มีการวางแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคล้องและสนับสนุนยุทธศาสตร์สนง.สสจ.อบ. 1.2 มีการวางแผนและบริหารกำลังคน (Workforce Planning and Deployment) ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ 1.3 : มีการบริหารกำลังคน เพื่อดึงดูดให้ได้มา พัฒนา และรักษาไว้ของกลุ่มข้าราชการ และผู้ปฏิบัติงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง 1.4 : มีแผนสร้างความต่อเนื่องในการบริหารราชการ 1.5 : มีการสร้าง พัฒนาผู้บริหาร (Leadership) ทุกระดับ มิติที่ 2 : ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Operational Efficiency) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การบริหารจัดการระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (Process Management) และพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 2.1 : พัฒนา ปรับปรุงกระบวนงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.2 : พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.3 : มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในกิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Automation)

ยุทธศาสตร์ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล 19 เป้าประสงค์ มิติที่ 3 : ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM HRD HRE HRH Program Effectiveness) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้เกิดประสิทธิผลเพื่อรองรับภารกิจและวิสัยทัศน์ของสนง. เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ 3.1 : พัฒนาทรัพยากรบุคคลทุกระดับอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 3.2 : มีการรักษาและจูงใจบุคลากรที่มีศักยภาพสูงไว้ในองค์กร 3.3 : พัฒนานักวิจัยให้มีการผลิตผลงานวิชาการและนวัตกรรมภายในองค์กรเพื่อสร้างวัฒนธรรม บรรยากาศ และระบบการทำงานให้เกิดการเรียนรู้ 3.4 : พัฒนาการเรียนรู้และการทำงานอย่างต่อเนื่อง 3.5 : มีระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) ที่เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่า 3.6 : สร้างหน่วยงานและบุคลากรด้าน HR ให้มีความเข้มแข็ง มิติที่ 4 : ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Accountability) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การจัดการระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ 4.1 : การรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและผลของการตัดสินใจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 4.2 : มีความโปร่งใสของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล มิติที่ 5 : คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน (Quality of Work Life) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน 5.1 : สร้างความพึงพอใจของบุคลากรต่อการทำงาน 5.2 : มีการจัดสวัสดิการและสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มเติมจากสวัสดิการตามกฎหมาย 5.3 : สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคลากรภายในสนง.