งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
การประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 PMQA GES เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56

2 ตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ปี 2556
ประเด็นการนำเสนอ ตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ปี 2556 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

3 กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ70 ) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ15) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา บุคลากร - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงสารสนเทศ ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ - ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ มิติภายใน

4 ตัวชี้วัดมิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
ประเด็นการประเมินผล ทุนมนุษย์ - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ประเด็นการประเมินผล ทุนสารสนเทศ - ความพึงพอใจของผู้ใช้สารสนเทศ KPI 9 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ GES ด้านการพัฒนาองค์การ - ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ KPI 10 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นการประเมินผล ทุนองค์การ - ความสอดคล้องเชื่อมโยงกันในองค์การ - ความสำเร็จขององค์การ - การสร้างสิ่งใหม่ KPI 11 : ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

5 ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การ
KPI 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก รัอยละ 5  KPI ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ร้อยละ 2  KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร ร้อยละ 1.5  KPI 11.3 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร KPI 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 3  KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ  KPI 12.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ KPI 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ  KPI ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ  KPI ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก ร้อยละ 4

6 ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร

7 KPI 11.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญของ องค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 2 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายหลังวันที่ 1 เมษายน 56 2 - 3 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายในวันที่ 1 เมษายน 56 4 5 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายในวันที่ 1 เมษายน 56 และรายงานมีความครบถ้วนและทันสมัย

8 KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความ
พึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

9 KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ
ความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร (ต่อ) น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

10 KPI 11.3 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งแผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 3 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่ไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ หรือ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 4 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 5 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ และผลการสำรวจครั้งที่ 2

11 ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ

12 KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

13 KPI 12.2 การประเมินประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 เกณฑ์การให้คะแนน การประเมิน น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 12.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ 1.5 ≤6 7 8 9 10

14 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ

15 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

16 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

17 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

18 แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

19 ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ

20 KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

21 KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

22 KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

23 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 X2 = X1 4 5
KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ กรณีที่ 1 : Gap ครั้งที่ 1 น้อยกว่าหรือเท่ากับค่าเฉลี่ยกลาง กรณีที่ 2 : Gap ครั้งที่ 1 มากกว่าค่าเฉลี่ยกลาง ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 X2 = X1 4 5 X2 ≤ ค่าเฉลี่ยกลาง ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 4 5 X2 ≤ X1 หมายเหตุ: X1 คือ Gap จากการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์การ ครั้งที่ 1 (17 ธ.ค. 55 – 4 ม.ค. 56) X2 คือ Gap จากการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์การ ครั้งที่ 2 (16 – 30 ก.ย. 56) Xmax คือ ค่าสูงสุดของค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญ (Gap) ครั้งที่ 1 ของทุกส่วนราชการ ทั้งนี้ “ค่าเฉลี่ยกลาง” และ “ค่า Xmax” สกพร.จะแจ้งพร้อมผลการสำรวจครั้งที่ 1 ผ่านระบบออนไลน์

24 ค่าเฉลี่ยกลาง และ Xmax
KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 11.2 ตัวชี้วัดที่ 12.1 ตัวชี้วัดที่ 13.1 ค่าเฉลียกลาง 1.2 1.0 Xmax 2.0 1.9 Gap เฉลี่ยของทุกจังหวัด รอบที่ 1 ปี พ.ศ. 2556

25 KPI 13.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ
น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งแผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 3 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่ไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ หรือ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 4 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 5 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ และผลการสำรวจครั้งที่ 2

26 ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ Survey Online
จังหวัดนครสวรรค์

27 “GAP” ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
Renewal HRM นโยบายและเป้าหมาย HRM ชัดเจน นำการเรียนรู้จากบุคลากร ผู้เกี่ยวข้อง มาปรับปรุงกระบวนการ ระบบงาน ขั้นตอนทำงาน การมอบหมายงานชัดเจน เหมาะสม งานท้าทาย ได้เรียนรู้/ประสบการณ์ การเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากร ส่วนราชการปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง ฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคล ถูกต้อง ทันสมัย นำมาใช้ประกอบการตัดสินใจ ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม Execution กิจกรรมการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์ แผน HRD สอดคล้องกับทิศทางและยุทธศาสตร์จังหวัด ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ติดตามความคืบหน้า บุคลากรในจังหวัดมีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ช่วยส่งเสริมและพัฒนาการปฏิบัติงาน การให้รางวัล ยกย่องชมเชยบุคลากร HRD มุ่งมั่นตั้งใจ ยินดีที่จะปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ ได้รับการพัฒนาความรู้ฯ จากความต้องการ และผลการประเมิน มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ การพัฒนาความรู้ฯ ที่ได้รับช่วยให้ชำนาญ และปฏิบัติงานดีขึ้น ปริมาณงานสมดุลกับเวลาปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศช่วยให้ปฏิบัติงานต่อเนื่อง System สภาพแวดล้อมทำให้ทำงานอย่างมีความสุข การจัดการแก้ไขปัญหา ระบบ IT เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อมูลและสารสนเทศของส่วนราชการถูกใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน ผู้บริหารสามารถบริหารฯ องค์การให้บรรลุเป้าหมาย ฐานข้อมูลใช้งานสะดวก เข้าถึงง่าย ค้นหาข้อมูลรวดเร็ว เข้าใจทิศทาง/กลยุทธ์ ฐานข้อมูลสนับสนุน Good/best Practices Alignment ระบบ IT เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน Database Network

28 ระดับ “Gap” ด้านการพัฒนาบุคลากร
ค่าเฉลียกลาง 1.2 Xmax 2.0 ระดับความเห็นด้วยจากมากไปน้อย

29 ระดับ “Gap” ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ค่าเฉลียกลาง 1.2 Xmax 2.0 ระดับความเห็นด้วยจากมากไปน้อย

30 ระดับ “Gap” ด้านวัฒนธรรมองค์การ
ค่าเฉลียกลาง 1.0 Xmax 1.9 ระดับความเห็นด้วยจากมากไปน้อย

31 ตัวอย่างการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ
ชื่อส่วนราชการ จังหวัดนครสวรรค์ ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก/หน่วยงาน  กลุ่ม.... ปัจจัยการสำรวจ คำถามการสำรวจออนไลน์ Gap โครงการ/กิจกรรมในการพัฒนา ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผนพัฒนาฯ * ตัวชี้วัด เป้าหมาย/ผลลัพธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ  HRM หน่วยงาน/จังหวัด ที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/ลาออกมีแนวโน้มลดลง   1.7  โครงการเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรต่อจังหวัดนครสวรรค์ - ค่า Gap - ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล ร้อยละการโอน/ลาออกของบุคลากรที่ลดลง   ร้อยละ 20 กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล

32 Q & A , # 8916, 8915, 8804


ดาวน์โหลด ppt เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google