สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์การบาดเจ็บเสียชีวิต นครราชสีมา เทศกาลสงกรานต์
Advertisements

การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ในช่วงเทศกาลสงกรานต์
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
กลุ่ม ๔ ด้านเฝ้าระวังสอบสวนโรค เกี่ยวกับภัยหนาว ประธาน : คุณพวงเพ็ญ อ่อนสีบุตร สสจ. ลำพูน เลขานุการ : คุณชานนท์ กัณทะสู้ ผู้นำเสนอ : คุณกิตติ
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
มาตรการป้องกันควบคุม การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในช่วง เทศกาลสงกรานต์ จังหวัด นครศรีธรรมราช.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กล่าวเปิดประชุมเชิงปฎิบัติการ
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
แนวทางการพัฒนาข้อมูลเสียชีวิต 3 ฐานจังหวัดอุบลราชธานี
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
การใช้ข้อมูลต่างๆ เพื่อการ ป้องกัน แก้ไข การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ระบบข้อมูลสารสนเทศ ด้านงานเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร Surveillance and Information System Improvement for Road Traffic Injuries สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข Ver. 28112013 ODPC1

ทำความรู้จักกับระบบข้อมูลงานที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังและป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร ในระดับจังหวัด Injury Surveillance (IS) สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข 19 สาเหตุ กระทรวงสาธารณสุข Information Technology for Emergency Medical System (ITEMS) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) กระทรวงสาธารณสุข ระบบทะเบียนมรณบัตร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข Police Information System ( POLIS) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ E-Claim บริษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด

ระบบรายงานข้อมูล ITEMS, 19 สาเหตุ, IS อุบัติเหตุจราจร จุดเกิดเหตุ โรงพยาบาล บาดเจ็บ / เสียชีวิต EMS ER, Ward daily ITEMS-2 Weekly ITEMS-1 + Provincial Health Office Provincial Data Center ** 19สาเหตุ** สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ IS** ITEMS-2 Real time connection** 19 สาเหตุ monthly งานเวชสถิติ**/ ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ** สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค **ระบบแตกต่างกันในบางจังหวัด

ระบบข้อมูลการจดทะเบียนการตาย (มรณบัตร) อุบัติเหตุจราจร จุดเกิดเหตุ โรงพยาบาลรัฐ/ เอกชน ฉุกเฉิน ,หอผู้ป่วย เสียชีวิต บาดเจ็บ (ไม่ไปรักษา) ใบรับรองการตายจากแพทย์ ใบรับรองการตายจากแพทย์ (กรณีมีการชันสูตร) จดทะเบียนการตาย หน่วยงานปกครอง Daily Daily มรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สธ. monthly กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

ระบบข้อมูล POLIS, RAIS เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้รับผิดชอบ ร้อยเวรจราจร ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้รับผิดชอบ ออกตรวจจุดเกิดเหตุทันที ร้อยเวรจราจร ออกตรวจจุดเกิดเหตุทันที จุดเกิดเหตุ เจ้าหน้าที่ประจำสถานี คัดแยกข้อมูลเฉพาะที่เป็นคดี จากสมุดบันทึก บันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ บันทึกข้อมูลลงในบันทึกประจำวัน(สมุดบันทึก) บันทึกข้อมูลลงในแบบฟอร์มบันทึก RAIS เจ้าหน้าที่ประจำสถานี บันทึกข้อมูลลงในเวปไซด์ POLIS Web site RAIS Web site weekly ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์กลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์กลาง บ. กลางประกันภัย จก.

ระบบ E-Claim บ.กลางคุ้มครองผู้ประสบภัย ผู้ประสบภัยจากรถที่มีประกันตาม พรบ ผู้ประสบภัยที่ไม่มีประกัน พรบ. รับการรักษาโรงพยาบาลทั้งรัฐและเอกชน ไม่ได้รับการรักษาใน รพ. (กรณี ทำประกันฯกับ บ.กลาง และ บ.ในเครือข่าย) เจ้าหน้าที่ รพ.หรือเจ้าหน้าที่ บ.กลางประจำโรงพยาบาล(ถ้ามี) บันทึกลงระบบ E-Claim ทุกวัน ยื่นขอเงินชดเชยที่ บ.กลาง ยื่นขอเงินชดเชยกับกองทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัย ตรวจสอบกับระบบ E-Accident Online ทุกวัน บันทึกข้อมูล E-claim (กรณีไม่ใช่ ประกัน บ.กลาง) บันทึกข้อมูล บ.ประกันอื่น บันทึกข้อมูล E-claim จาก บ.กลางฯ สาขาจังหวัด ฐานข้อมูล E-claim บ.กลางฯ,ระดับประเทศ สรุปข้อมูล (รายเดือน รายปี)

ระบบการรายงานข้อมูลอุบัติเหตุจราจร จุดเกิดเหตุ ระดับจังหวัด โรงพยาบาล ตำรวจ บริการแพทย์ฉุกเฉิน, EMS ห้องฉุกเฉิน, หอผู้ป่วย, ชันสูตร 19 สาเหตุ ITEMS ใบรับรองการตาย E-claim POLIS, RAIS สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด IS ทะเบียนมรณบัตร สตช 19 สาเหตุ ITEMS กรมการปกครอง ส่วนกลาง กระทรวงสาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค สนย. บ. กลางประกันภัย จก. ผู้ป่วย เส้นทางการรายงาน

ฐานข้อมูลงานเฝ้าระวังและป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร ในระดับจังหวัด ระบบข้อมูล นิยามของระบบ วัตถุประสงค์ของระบบ IS ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ เพื่อพัฒนานโยบายด้านการป้องกันการบาดเจ็บ เพื่อพัฒนาการบริการด้านการรักษาพยาบาลผู้ป่วย บาดเจ็บ 19 สาเหตุ ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากสาเหตุภายนอก 19 สาเหตุหลัก เพื่อติดตามและเฝ้าระวังจำนวนผู้บาดเจ็บ ITEMS (สพฉ) ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อพัฒนางานด้านการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ทะเบียนมรณบัตร ระบบจดทะเบียนการเสียชีวิตของประขากรไทย เพื่อติดตามและวิเคราะห์การตายในประชากรไทย POLIS ระบบบันทึกเคสคดี เพื่อเป็นทะเบียนคดีและวางแผนด้านกำลังตำรวจ E-claim ระบบลงทะเบียนการเบิกจ่ายเงินชดเขย ผู้ประสบภัยจากทางถนน เพื่อเป็นทะเบียนการเบิกจ่ายค่าชดเชยฯและด้านการ วางแผนงานของ บ. กลางประกันภัย จำกัด Add local service

กลุ่มประชาชนที่อยู่ในระบบข้อมูล ฐานข้อมูลงานเฝ้าระวังและป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร ในระดับจังหวัด ระบบข้อมูล กลุ่มประชาชนที่อยู่ในระบบข้อมูล IS ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตที่เข้ารับการรักษาใน รพ. ที่มีระบบบันทึกข้อมูล IS (ภายใน 7 วันหลังบาดเจ็บ) 19 สาเหตุ ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากสาเหตุ 19 ชนิด ที่เข้ารับการรักษาใน รพ. ของรัฐ ITEMS (สพฉ) ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตที่ได้รับการช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ทะเบียนมรณบัตร ประชาชนที่เสียชีวิตและแจ้งตายต่อนายทะเบียน POLIS ผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุที่เป็นกรณีเป็นคดีความ E-claim ผู้ประกันตนตาม พรบ. ผู้ประสบภัยจากรถ กับ บ.กลางประกันภัย จำกัด Add local service

แบบจำลองความครอบคลุมของ ระบบข้อมูลอุบัติเหตุจราจรระดับจังหวัด ผู้เสียชีวิต ทั้งจังหวัด IS E claim มรณบัตร POLIS

Applied Haddon Matrix ก่อนเกิดเหตุ ระหว่างเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ คน ยานพาหนะ ถนน

Applied Haddon Matrix

Applied Haddon Matrix

การตอบสนองหลังการบาดเจ็บ ถนน ยานพาหนะ คน การตอบสนองหลังการบาดเจ็บ จุดเกิดเหตุ จุดเสี่ยง/จุดอันตราย สภาพสิ่งแวดล้อม ชนิด/ประเภท สภาพ/ความพร้อม ความเร็วในการขับขี่ ปัจจัยเชิงประชากร พฤติกรรมเสี่ยง การบาดเจ็บเสียชีวิต การนำส่ง การรักษาพยาบาล ค่าใช้จ่าย POLIS    การสืบสวนสอบสวน RAI     E-Claim กรมทางหลวง* IS Trauma registry 19 สาเหตุ ITEMS EMCO 43 แฟ้ม มรณบัตร

จุดน่าสนใจ ทั้ง 6 ระบบข้อมูล มีวัตถุประสงค์จำเพาะของระบบ จำนวนผู้บาดเจ็บ หรือ เสียชีวิตของแต่ละระบบมักมีตัวเลขแตกต่าง วัตถุประสงค์ของระบบต่างกัน นิยามผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตที่แตกต่าง ความครอบคลุมของประชากรที่แตกต่าง กำลังคนของผู้ปฏิบัติ ยังขาดการเชื่อมโยงข้อมูลที่ดีระหว่างระบบ ในลักษณะ electronic data

จุดน่าสนใจ ตัวแปรของแต่ละระบบมีความแตกต่างกัน จำนวนตัวแปรแตกต่างกัน องค์ประกอบแตกต่างกัน ความละเอียดแตกต่างกัน ความครบถ้วนของการกรอกข้อมูลแตกต่างกัน ตัวแปรที่ตัดสินใจยาก ตัวแปรที่ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ ตัวแปรที่ไม่สามารถติดตามผลภายหลังได้

แหล่งข้อมูลอื่นๆ ข้อมูลช่วงเทศกาล ปีใหม่ สงกรานต์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน

สรุปหลักการใช้ระบาดวิทยา เพื่อควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุ สรุปหลักการใช้ระบาดวิทยา เพื่อควบคุมและป้องกันอุบัติเหตุ What Who Where When Clinical Person Place Time Descriptive Epidemiology ระบาดวิทยา เชิงพรรณนา สถานการณ์ สมมติฐาน มาตรการควบคุม/ป้องกัน Why/How Cause, Risk factors Analytic Epidemiology ระบาดวิทยา เชิงวิเคราะห์ สอบสวน/ งานวิจัย

แนวคิด งานป้องกันควบคุมอุบัติเหตุจราจร ดำเนินงานภายใต้ District Health System พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ ข้อมูลสถานการณ์ และเฝ้าระวัง ฐานข้อมูล ในและนอก สธ ทราบขนาดปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ ข้อมูลสร้างความสะเทือนใจ ข้อมูลรายละเอียดเคสที่สำคัญ อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ การแก้ปัญหา ป้องกัน ควบคุม ผ่านทางศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) ระดับพื้นที่

โครงการ พัฒนางานป้องกันควบคุมอุบัติเหตุจราจร 2558 ส่วนกลาง ส่วนกลาง DHS พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ ข้อมูลสถานการณ์ และเฝ้าระวัง ฐานข้อมูล ในและนอก สธ ทราบขนาดปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ ข้อมูลสร้างความสะเทือนใจ ข้อมูลรายละเอียดเคสที่สำคัญ สคร. โครงการพัฒนา ศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ ส่วนกลาง สคร. อบรมพัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ การแก้ปัญหา ป้องกัน ควบคุม ส่วนกลาง สคร. มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร โครงการมาตรการชุมชน ที่เป็นรูปธรรมและติดตามผลอย่างต่อเนื่องจริงจัง การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฏหมาย นโยบาย ส่วนกลาง

การดำเนินงานป้องกันควบคุมอุบัติเหตุจราจร 2558 ดำเนินงานภายใต้ District Health System ข้อมูลสถานการณ์ และเฝ้าระวัง ฐานข้อมูล ในและนอก สธ ทราบขนาดปัญหา กลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลเชิงลึก การสอบสวนการบาดเจ็บ ข้อมูลสร้างความสะเทือนใจ ข้อมูลรายละเอียดเคสที่สำคัญ การแก้ปัญหา ป้องกัน ควบคุม ผ่านทางศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.) ระดับพื้นที่ หน่วยงาน สาธารณสุข ชุมชน /อปท. /หน่วยราชการ มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร การแก้ไขความเสี่ยง การทาง / ขนส่ง ข้อมูล บังคับใช้กฏหมาย ตำรวจ นโยบาย ศปถ. / ผู้ว่า