งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข มาตรการดำเนินงาน Quick Win มาตรการจัดการข้อมูล (การบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน) มาตรการด่านชุมชน มาตรการองค์กร การขับเคลื่อนผ่านระบบสุขภาพอำเภอ (DHS/DC) การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข เทศกาลปีใหม่ 2559 นายแพทย์ชัยรัตน์ เตชะไตรศักดิ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค

2 โครงสร้าง/ บทบาท : core Function
กระทรวงสาธารณสุข ข้อ 5 : ป้องกันควบคุมการบาดเจ็บ โดยเฉพาะ RTI ภาพรวม ข้อเสนอเพื่อสามารถดำเนินงานได้ “ตลอดปี” เป็นวาระของกระทรวงฯ นโยบายเร่งด่วน พ.ศ. 2559 1 โครงสร้าง/ บริหารจัดการ บทบาท : core Function การสนับสนุน - กำกับ ติดตาม ผลลัพธ์ 2 3 ส่วน กลาง EOC RTI ในระบบ ICS / สธฉ. บูรณาการ prevention กับ Service plan พัฒนากลไกข้อมูล ตาย 3 ฐาน บาดเจ็บ IS / 43 แฟ้ม สอบสวน case พัฒนา model DHS/ศปถ.อำเภอ ด่านชุมชน มาตรการองค์กร 3-6 เดือน มีข้อมูลตาย 3 ฐาน เขตสุขภาพ สสจ./รพ. EOC RTI สคร./สสจ. สสจ. มีผู้รับผิดชอบงาน อุบัติเหตุชัดเจน ตั้ง Emergency & Trauma Admin Unitใน รพ.ระดับ A S M1 เขตสุขภาพ (แผน + สนับสนุน งปม. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล 2. จัดอบรม Emergency &Trauma Admin Unit) 3. บริหารจัดการข้อมูล+นำเสนอ ศปถ.จว.ทุกเดือน) บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน case ตามเกณฑ์ ชี้เป้า“ 5 จุดเสี่ยง” ที่ต้องแก้ไข 3-6 เดือน มีการแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุด/จว /ไตรมาส (380 จุด) การทำงานในปัจจุบัน การทำงานยังขาดการบูรณาการ ยังแยกส่วนการป้องกัน และการรักษา ข้อมูลผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล อยู่ในระบบ ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ในด้านการป้องกัน เนื่องจากไม่มีผู้รับผิดชอบในการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ นำเสนอ เพื่อชี้เป้า ทั้งในส่วนของโรงพยาบาล และ สสจ. (ไม่มีผู้รับผิดชอบหลักงานอุบัติเหตุเป็นเพียงงานฝาก ทำเฉพาะช่วงเทศกาล) ผู้บริหาร/ผู้ปฎิบัติงานในพื้นที่บ่งส่วน ยังมีความคิดว่างานอุบัติเหตุไม่ใช่ภารกิจของสาธารณสุข มีเพียงงานรักษาเท่านั้น จึงให้ความสำคัญกับงานป้องกันน้อย รอเป็นฝ่ายรับ ไม่รุกออกไปทำงานป้องกัน พบว่าในบางพื้นที่ ที่ฝ่ายสาธารณสุขลุกขึ้นมาขับเคลื่อนงานโดยการนำข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากระบบรายงานในโรงพยาบาล และจากการสอบสวน ไปนำเสนอในเวทีหลายระดับ ทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล ทำให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ นายก อบต./เทศบาล ให้ความสนใจ ให้ความสำคัญกับปัญหา แล้วหาแนวทางแก้ไข เกิดมาตรการชุมชน การแก้ไขจุดเสี่ยง มาตรการด่านชุมชน เช่น ภูเก็ต น่าน นครราชสีมา สิงห์บุรี ฯลฯ จึงมีข้อเสนอดังนี้ - ส่วนกลาง ให้เปิด OC ของงานอุบัติเหตุทางถนนในระบบ ICS โดยมีสำนักสาธารณสุขฉุกเฉินรับผิดชอบ ในช่วงวิกฤตให้เปิด EOC ทำหน้าที่พัฒนากลไกข้อมูล (เชื่อมข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน case) พัฒนาModel (DHS/DC ด่านชุมชน มาตรการองค์กร) - เขตสุภาพ/สสจ./รพ. ให้เปิด OC ของจังหวัดเชื่อมงานกับ รพ.และศปถ.จังหวัด และ เปิด EOC กรณีเกิดวิกฤต // ตั้ง Emergency & Trauma Admin Unit ใน รพ.ระดับ A S M1 เขตทำหน้าที่ สนับสนุนงบประมาณ จัดทำแผน นิเทศ ติดตาม กำกับ ประเมินผล// จัดอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ใน Emergency & Trauma Admin unit จังหวัดทำหน้าที่ บริหารจัดการข้อมูล นำเสนอ ให้กับศปถ.จังหวัด ทุกเดือน (เชื่อมข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน แase สำคัญ) // วิเคราะห์ นำเสนอ 5 จุดเสี่ยง ที่ต้องแก้ไข //ทำมาตรการองค์กร - อำเภอ ให้ สสอ.เป็นฝ่ายเลขาร่วมใน ศปถ.อำเภอ ทำหน้าที่บริหารจัดการข้อมูล นำเสนอ ศปถ.อำเภอ ทุกเดือน ชี้จุดเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง// สอบสวน case สำคัญ ผลลัพธ์ 3-6 เดือน ส่วนกลาง : ข้อมูลตาย 3 ฐาน ทุกจังหวัด //เกิด Model ต้นแบบในพื้นที่เสี่ยง //เกิดข้อเสนอเชิงนโยบาย เขต/รพ./สสจ. : เสนอข้อมูลตาย สอบสวน และจุดเสี่ยงให้กับ ศปถ.จังหวัด ทุกเดือน // มีการนำข้อมูลไปแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุด/จังหวัด/ไตรมาส อำเภอ : การบาดเจ็บและเสียชีวิตที่จุดเสี่ยงลดลง // เกิดแผนปฏิบัติการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่ดำเนินงานตลอดปี อำเภอ DHS /DC สสอ.เป็นเลขาร่วมใน ศปถ.อำเภอ จัดการข้อมูล สอบสวน case ชี้จุดเสี่ยง และ พฤติกรรมเสี่ยง เสนอ ศปถ.อำเภอทุกเดือน ติดตาม ผลการดำเนินงาน “แก้จุดเสี่ยง”+ อื่นๆ ดำเนินการ (มาตรการองค์กร มาตรการ ชุมชน ด่านชุมชนช่วงเทศกาล) 3-6 เดือน 1. “ช่วงเทศกาล” เจ็บ ตายลดลงในพื้นที่ตั้ง ด่านชุมชน (7,255 จุด) 2. แก้ไขจุดเสี่ยง 1 จุด/ อำเภอ/ไตรมาส (878 จุด)

3 สรุปภาพรวมการดำเนินงาน
บูรณาการข้อมูลการตาย 3 ฐาน (สาธารณสุข ตำรวจ และบริษัทกลาง) สอบสวนสาเหตุการตายจากการเกิดอุบัติเหตุทางถนน นำเสนอข้อมูลต่อศูนย์ถนนในแต่ละระดับ เพื่อใช้ในการป้องกันอุบัติเหตุ ระบบข้อมูล แก้ไขจุดเสี่ยง : Quick Win 5 จุดเสี่ยง/ไตรมาส/จังหวัด มาตรการชุมชน และ Quick Win ด่านชุมชน มาตรการองค์กร : หมวก เมา เร็ว เข็มขัดนิรภัย การป้องกัน ระบบ EMS ER quality, Emergency & Trauma Unit, การรักษา พยาบาล สธฉ. เปิด EOC ติดตาม และ สสจ.+รพ. เปิด OC ในจังหวัด จัดตั้ง Emergency & Trauma Admin Unit ใน รพ. A S M1 มีผู้ประสานงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนทุก สสจ. M&E หา Best Practice การบริหารจัดการ

4 กรอบการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนระดับพื้นที่
ผู้บริหาร ร่วมผลักดันนโยบายการทำงานระหว่างกระทรวง ให้มีความสอดรับกันตามแนวทาง DHS ส่วนกลาง DHS/DC มาตรการจัดการข้อมูล สคร. พัฒนาฐานข้อมูลระดับประเทศ พัฒนาศักยภาพการสอบสวนฯ จังหวัด/อำเภอ ข้อมูลเฝ้าระวังฯ ข้อมูลเชิงลึก สอบสวนการบาดเจ็บ การบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน พัฒนาศักยภาพการใช้ข้อมูลระดับจังหวัด/อำเภอ ชี้เป้าแต่ละตำบล/หมู่บ้าน กลุ่มมีพฤติกรรมเสี่ยง จุดเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมสร้างมาตรการแก้ปัญหา Quick Win : จัดการ จุดเสี่ยง 5 จุด/จว/ไตรมาส (ช่วงปกติ) Quick Win : มาตรการลดปัจจัย/พฤติกรรมเสี่ยง ด่านชุมชน (ช่วงเทศกาล) การแก้ไขความเสี่ยง บังคับใช้กฎหมาย มาตรการชุมชน / มาตรการองค์กร

5 การจัดการสุดเสี่ยง (Black Spot)
การสำรวจและค้นหา จุดเสี่ยง จุดอันตราย  โดยใช้ข้อมูล เพื่อนำเสนอทางเลือกในการแก้ไขจุดเสี่ยงในชุมชน 

6 การสอบสวนอุบัติเหตุทางถนน
Criteria การสอบสวน สำนักระบาดวิทยา 1.เสียชีวิต ตั้งแต่ 5 ราย ขึ้นไป หรือ บาดเจ็บตั้งแต่ 15 คน 2.เหตุการณ์ที่น่าสนใจ ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน 1.เสียชีวิตตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป 2.บาดเจ็บตั้งแต่ 4 คน ขึ้นไป 3.บาดเจ็บ + เสียชีวิต ตั้งแต่ 4 คนขึ้นไป เป้าหมายการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพบุคคลากรและเครือข่าย จำนวน อำเภอ ปีงบประมาณ 2558 แผนปีงบประมาณ 2559 รวม (%) ภาพรวม ทั้งประเทศ 878 366 (41.67%) 166 (18.91%) 532 (60.59%)

7 มาตรการองค์กรด้านความปลอดภัยทางถนน ของกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายองค์กร :-ตั้งกรรมการดำเนินงาน + มีการให้รางวัลหรือลงโทษ -การสอบสวนกรณีเกิดอุบัติเหตุกับเจ้าหน้าที่ทุกราย -การป้องกันอุบัติเหตุจากความเหนื่อยล้าของเจ้าหน้าที่ -กรณีเช่าเหมารถต้องมีการประเมินตามแนวทางฯ สถานที่ราชการ : กำหนดเป็นเขตสวมหมวกนิรภัยและรัดเข็มขัดนิรภัย 100 % รถราชการ : -ติดตั้งเข็มขัดนิรภัยทุกที่นั่ง พิจารณาทำประกันภัย -จำกัดความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. ในเส้นทางนอกเมือง รถพยาบาล : -ตรวจประเมินมาตรฐานรถและอุปกรณ์ความปลอดภัย ติด GPS -ทำประกันภัยทุกคัน -อบรมพัฒนาพนักงานขับรถ -จำกัดความเร็วไม่เกิน 80 กม./ชม. ในเส้นทางนอกเมือง เจ้าหน้าที่ : มีส่วนร่วมและปฏิบัติตามมาตรการ 4 ข้อโดยเคร่งครัด มาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยทางถนนของกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวง ให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกหน่วยงานปฏิบัติตามกฎกระทรวง โดยในปี 59 นี้ ขอเน้น 4 ประเด็นหลัก เมา เร็ว เข็มขัด หมวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการเกิดอุบัติเหตุกับรถพยาบาลและรถยนต์ราชการ ต้องมีการสอบสวนและรายงานให้กับผู้บริหารทราบทุกราย เน้น 4 ประเด็นหลัก 1. ห้ามเมาแล้วขับขี่ 2. ห้ามใช้ความเร็วเกินกำหนด 3. คาดเข็มขัดนิรภัย 4. สวมหมวกนิรภัย อุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง อุบัติเหตุรถราชการลดลง

8 ตั้งด่านชุมชน ด่านชุมชน คือ จุดตรวจหรือจุดสกัดบนถนนในชุมชน/อบต. โดยความร่วมมือของคน ในชุมชน องค์กร/กลุ่มต่างๆ ในชุมชน เพื่อสกัดกลุ่มเสี่ยงและลดพฤติกรรมเสี่ยง ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน องค์การบริหารส่วน/เทศบาล อปพร. ชรบ. รพ.สต. อสม. ผู้ที่ได้รับการยอมรับนับถือในชุมชน และกลุ่มอื่นๆ ต. เตรียม เตรียมความพร้อมก่อนเทศกาล เช่น จัดประชาคมร่วมสร้างมาตรการชุมชน อุปกรณ์ ทีมงาน สำรวจ/แก้ไขจุดเสี่ยง สำรวจกลุ่มเสี่ยง/พฤติกรรมเสี่ยง ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ต. ตั้งด่านชุมชน การกำหนดจุดในการตั้งด่านในช่วงเทศกาล เช่น ทางเข้าออกชุมชน แยกถนนที่มีความเสี่ยง หรือจัดเป็นลักษณะด่านเคลื่อนที่ได้ ต.ติดตาม การสรุปผลการดำเนินงานในแต่ละวัน การประเมินกิจกรรม การสรุปบทเรียน

9 เป้าหมาย (Small Success)
มาตรการ ผลสำเร็จ (Small Success) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน บูรณาการฐานข้อมูลการตาย 3 ฐาน ส่วนกลาง (MOU) 1 ชุดฐานข้อมูล บูรณาการฐานข้อมูลการตาย 3 ฐาน ระดับจังหวัด 12 จังหวัด 24 จังหวัด 50 จังหวัด 76 จังหวัด การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุดเสี่ยง/จังหวัด ไม่น้อยกว่า จุด ไม่น้อยกว่า 300 จุด การดำเนินงาน “ตั้งด่านชุมชน”ในช่วงเทศกาล อย่างน้อย อำเภอละ จุด อย่างน้อย อำเภอละ 1 จุด มี EOC RTI ระดับส่วนกลาง ระดับเขต และจังหวัด สำหรับการบัญชาการเหตุการณ์ช่วงเทศกาล เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ จัดตั้ง Trauma Emergency admin unit ใน รพ.ระดับ A/S/M1 (และมีการฝึกอบรมให้กับผู้มีหน้าดูแล) ร้อยละ 25 ร้อยละ 50 ร้อยละ 75 ร้อยละ 100 ระดับอำเภอ เน้นการทำงาน DHS/DC ร่วมกับ ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน อำเภอ (ศปถ.อำเภอ) DHS/DC เพิ่มขึ้น 50%  ด้านการจัดการข้อมูล ด้านป้องกัน ด้าน บริหารจัดการ

10 การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข สำหรับเทศกาลปีใหม่ 2559
(วันที่ 29 ธ.ค ม.ค. 59) “สุขกาย สุขใจ ขับขี่ปลอดภัย รับปีใหม่ 2559” ระบบข้อมูล การป้องกัน ตั้งด่านชุมชน การรักษา พยาบาล

11 จังหวัดเสี่ยงสูง พื้นที่สีแดง และส้ม
เทศกาลปีใหม่ 2556 เทศกาลปีใหม่ 2557 เทศกาลปีใหม่ 2558 จังหวัดเสี่ยงสูง พื้นที่สีแดง และส้ม แหล่งข้อมูล : ระบบรายงานอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลของกระทรวงสาธารณสุข

12 ทำไมต้อง “ด่านชุมชน”

13 ก่อนเทศกาล ช่วงเทศกาล
ส่วน กลาง ผลักดันในระดับนโยบายร่วมกับกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ทบทวนบทเรียน วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา ระบุ “ความเสี่ยงสำคัญ” (กลุ่มเสี่ยง จุด/พื้นที่เสี่ยง ช่วงเวลาที่เสี่ยง) แถลงข่าว สื่อสาร/รณรงค์ ระดมความร่วมมือ และเตรียมความพร้อม กรม คร. สธฉ. สพฉ. ร่วมบูรณาการกับ ศปถ. ดำเนินมาตรการองค์กร สธฉ.เปิด EOC ที่กระทรวง ตรวจเยี่ยม กำกับติดตาม เขต/จังหวัด วิเคราะห์หาจุดเสี่ยง ความเสี่ยงสำคัญในพื้นที่และแก้ไข รณรงค์ สื่อสารความเสี่ยง สคร./สสจ. ตรวจเตือน/ตรวจจับร้านค้าที่กระทำผิด พรบ. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ เปิด EOC ติดตาม และรายงานสถานการณ์ทุกวัน สอบสวนอุบัติเหตุ บูรณาการสำรวจ/ตรวจจับร้านค้าที่กระทำผิด พรบ.ฯ อำเภอ (DHS) บริหารจัดการโดยใช้หลัก 5 ส (สารสนเทศ สุดเสี่ยง สหสาขาวิชาชีพ สุดคุ้ม ส่วนร่วม) วิเคราะห์หาความเสี่ยง จุดเสี่ยงสำคัญในพื้นที่เพื่อแก้ไข กรณี พบเด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี บาดเจ็บจากดื่มแล้วขับ ให้ประสานตำรวจติดตามลงโทษร้านขายสุรา/สถานบริการ ตำบล สร้างความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถึงแนวปฏิบัติด่านชุมชน สำรวจ “กลุ่มเสียง” (พฤติกรรม) สำรวจ “จุดเสี่ยง” ประชาคม/กำหนดมาตรการชุมชน รพสต. อสม. ร่วมตั้งด่านชุมชน การป้องกัน

14 การรักษา พยาบาล นอกโรงพยาบาล ในโรงพยาบาล
เตรียมความพร้อมระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของหน่วยบริการทุกระดับ ทั้งภาครัฐและเอกชน - หน่วยบริการทุกระดับ ALS, BLS และ FR - ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ (โทรศัพท์ 1669) - ระบบสารสนเทศ - ขอความร่วมมือจากมูลนิธิ/อาสาสมัคร นอกโรงพยาบาล การรักษา พยาบาล จำนวนชุดปฏิบัติการ EMS 14,442 ชุด เตรียมความพร้อมทั้งทีมแพทย์ พยาบาล และอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน ER, OR, ICU และการรับอุบัติเหตุหมู่ ให้มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอยู่ประจำ ER ตลอด 24 ชั่วโมง สำรองเตียงรองรับอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นจากปกติ อีกร้อยละ 10 ในโรงพยาบาล จำนวนนักปฏิบัติการ EMS 163,625 ราย * แพทย์ 1,718 คน * พยาบาล 19,392 คน * paramedic 183 คน * EMT-I 2,440 คน * EMT-B 5,811 คน * FR 129,218 คน * อื่นๆ 4,863 คน

15 สำนักงานป้องกันและควบคุมโรค 12 เขต
รพ./หน่วยงานสาธารณสุขระดับจังหวัด/อำเภอ สนับสนุนข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องให้กับ ศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัด/อำเภอ และ สธฉ. จัดทีมสอบสวนการบาดเจ็บตามเกณฑ์ฯ สำนักงานป้องกันและควบคุมโรค 12 เขต เปิดศูนย์ EOC ติดตามสถานการณ์ทุกวัน จัดทีมสอบสวนกรณีอุบัติเหตุรายใหญ่ สธฉ. รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายวัน เสนอผู้บริหาร เปิด EOC กรมควบคุมโรควิเคราะห์ข้อมูล IS ภายหลังเทศกาล ระบบข้อมูล


ดาวน์โหลด ppt การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google