ตัวอย่าง SIPOC ที่ 1 : งานรับฟังความคิดเห็นทั่วไป input process output จัดทำข้อเสนอข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์การรับฟัง ความคิดเห็นจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการ จัดทำแนวทาง/แผนงานการจัดกระบวนการรับฟัง ความคิดเห็นประจำปี สังเคราะห์ / วิเคราะห์ / สรุปรายงานผลการรับฟังเพื่อนำเสนอ และจัดทำข้อเสนอนโยบาย พรบ. หลักประกันสุขภาพฯ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดองค์กร นโยบาย / ข้อมูลการดำเนินงานขององค์กรด้านสุขภาพ (เน้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ : กสธ. สสส. สช. ) ผลการสำรวจ/ ผลการวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ แผนงบประมาณ ทรัพยากร / บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน / ผลการดำเนินงานด้านระบบหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นทั่วไป รายงานการประชุม / มติ คกก. บริหารเขต /คทง. ที่เกี่ยวข้อง คู่มือ / แนวปฏิบัติ /มาตรฐานกลาง สำหรับ สปสช.เขต ประกาศ นโยบาย ที่ได้จากข้อเสนอนโยบายจากการรับฟังความคิดเห็นฯ ประเด็นข้อเสนอเชิงนโยบายสู่เวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน สปสช.เขต ในการจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นประจำปี และสนับสนุน คกก.หลักฯ อนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง และผู้เกี่ยวข้อง เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น นำเสนอผลการรับฟังและข้อเสนอประเด็นนโยบายเพื่อการพัฒนาต่อ คกก.หลักฯ อนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง คกก.บริหาร สปสช. /อปสข. และผู้เกี่ยวข้อง การติดตามความคืบหน้าละประมินผลการดำเนินงาน ในประเด็นต่างๆ เป็นระยะๆ อย่างน้อยรายไตรมาส จัดผลการรับฟังความคิดเห็นให้เป็นองค์ความรู้ และสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจกับสังคมและประชาชนให้รับทราบ ให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันและรับทราบถึงความคืบหน้าของประเด็นต่างๆ ประสานงาน ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้และจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่วนกลาง/เขต ถอดบทเรียนการบริหารจัดการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานร่วมกัน พัฒนาเครื่องมือ คู่มือ แนวปฏิบัติ มาตรฐานกลาง ที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานของ สปสช. เ Supplier คกก.หลักฯ / คอก. / คทง. ที่เกี่ยวข้อง องค์กรด้านสุขภาพ (สธ. / สสส./ สช. / สวรส. / สวปก. ฯลฯ) คกก.บริหาร สปสช. สำนัก /กองทุน/สปสช.เขต ผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรต่าง ๆ Customer คกก. หลัก/คกก.ควบคุมฯ/ คอก./คทง.ที่เกี่ยวข้อง สปสช.เขต /อปสข. คกก.บริหาร สปสช. กลุ่มภารกิจ /สำนัก /แผนงาน/สปสช.เขต สช. / สวรส. /สธ. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และ KPI (พท.อาจปรับเป็น สอดคล้องกับธรรมนูญตำบล ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ข้อ ๒.๒.๒ การจัดรับฟังความเห็นทั่วไปฯประจำปีแบบมีส่วนร่วม ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ องค์กรเอกชน ภาคประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ข้อ ๔.๓ เสริมกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน โดยใช้กลไกการเตรียมข้อมูล และเป็นกลาง เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ - ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ ๑ ข้อ ๑ มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพร่วมขององค์กรสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ภาคีเครือข่ายและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวชี้วัดเลขาธิการ (SG) ที่ ๒ มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นแบบมีส่วนร่วมระดับพื้นที่ ณ 2/01/13
ตัวอย่าง SIPOC ที่ 1 : งานรับฟังความคิดเห็นทั่วไป ผู้ผลิต/ผู้รับผิดชอบ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต จัดทำข้อเสนอข้อบังคับว่าด้วยหลักเกณฑ์การรับฟัง ความคิดเห็นจากผู้ให้บริการและผู้รับบริการ จัดทำแนวทาง/แผนงานการจัดกระบวนการรับฟัง ความคิดเห็นประจำปี สังเคราะห์ / วิเคราะห์ / สรุปรายงานผลการรับฟังเพื่อนำเสนอ และจัดทำข้อเสนอนโยบาย พรบ. หลักประกันสุขภาพฯ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดองค์กร นโยบาย / ข้อมูลการดำเนินงานขององค์กรด้านสุขภาพ (เน้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ : กสธ. สสส. สช. ) ผลการสำรวจ/ ผลการวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ แผนงบประมาณ ทรัพยากร / บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน / ผลการดำเนินงานด้านระบบหลักประกันสุขภาพในเขตพื้นที่ รายงานผลการรับฟังความคิดเห็นทั่วไป รายงานการประชุม / มติ คกก. บริหารเขต /คทง. ที่เกี่ยวข้อง คู่มือ / แนวปฏิบัติ /มาตรฐานกลาง สำหรับ สปสช.เขต ประกาศ นโยบาย ที่ได้จากข้อเสนอนโยบายจากการรับฟังความคิดเห็นฯ ประเด็นข้อเสนอเชิงนโยบายสู่เวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน สปสช.เขต ในการจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นประจำปี และสนับสนุน คกก.หลักฯ อนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง และผู้เกี่ยวข้อง เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น นำเสนอผลการรับฟังและข้อเสนอประเด็นนโยบายเพื่อการพัฒนาต่อ คกก.หลักฯ อนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง คกก.บริหาร สปสช. /อปสข. และผู้เกี่ยวข้อง การติดตามความคืบหน้าละประมินผลการดำเนินงาน ในประเด็นต่างๆ เป็นระยะๆ อย่างน้อยรายไตรมาส จัดผลการรับฟังความคิดเห็นให้เป็นองค์ความรู้ และสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจกับสังคมและประชาชนให้รับทราบ ให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันและรับทราบถึงความคืบหน้าของประเด็นต่างๆ ประสานงาน ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้และจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่วนกลาง/เขต ถอดบทเรียนการบริหารจัดการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานร่วมกัน พัฒนาเครื่องมือ คู่มือ แนวปฏิบัติ มาตรฐานกลาง ที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานของ สปสช. เ ผู้ผลิต/ผู้รับผิดชอบ คกก.หลักฯ / คอก. / คทง. ที่เกี่ยวข้อง องค์กรด้านสุขภาพ (สธ. / สสส./ สช. / สวรส. / สวปก. ฯลฯ) คกก.บริหาร สปสช. สำนัก /กองทุน/สปสช.เขต ผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรต่าง ๆ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คกก. หลัก/คกก.ควบคุมฯ/ คอก./คทง.ที่เกี่ยวข้อง สปสช.เขต /อปสข. คกก.บริหาร สปสช. กลุ่มภารกิจ /สำนัก /แผนงาน/สปสช.เขต สช. / สวรส. /สธ. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และ KPI (พท.อาจปรับเป็น สอดคล้องกับธรรมนูญตำบล ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ข้อ ๒.๒.๒ การจัดรับฟังความเห็นทั่วไปฯประจำปีแบบมีส่วนร่วม ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ องค์กรเอกชน ภาคประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฯลฯ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ข้อ ๔.๓ เสริมกระบวนการรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน โดยใช้กลไกการเตรียมข้อมูล และเป็นกลาง เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ - ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ที่ ๑ ข้อ ๑ มีแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพร่วมขององค์กรสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ภาคีเครือข่ายและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวชี้วัดเลขาธิการ (SG) ที่ ๒ มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นแบบมีส่วนร่วมระดับพื้นที่ ณ 2/01/13
ตัวอย่าง SIPOC ที่ 2 : การพัฒนาเครือข่ายวิชาชีพหลักในระบบบริการปฐมภูมิ input process output ออกแบบการจัดสรรสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขแบบบูรณาการ ให้เอื้อต่อการพัฒนาเครือข่ายวิชาหลักในระบบบริการ ปฐมภูมิ จัดทำแผนการพัฒนาเครือข่ายวิชาชีพหลักในระบบบริการปฐมภูมิ ระดับเขต Mapping พื้นที่ที่มีผลงานนวัตกรรมเด่นเฉพาะด้าน ประเมินผล และถอดบทเรียนการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิที่เอกลักษณะเฉพาะด้าน(วิชาชีพ) เชิดชูเกียรติ์บุคคล/หน่วยงาน เอกสารผลงานนวัตกรรมเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ในระบบบริการปฐมภูมิ ศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมเด่นในระบบบริการปฐมภูมิเฉพาะด้าน บุคคลและหน่วยบริการที่มีผลงานเด่นเป็นเอกลักษณ์ในระบบบริการปฐมภูมิ ยุทธศาสตร์ที่ 3 สปสช. : สร้างความเข้มแข็งของระบบบริการ สธ.โดยเฉพาะระบบบริการปฐมภูมิที่เหมาะสมในทุกมิติและสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขแบบบูรณาการ งบจ่ายตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment) ประสานงานหน่วยงานภาคีเครือข่ายเพื่อทำหน้าที่เป็น Node พัฒนาเครือข่ายวิชาชีพหลักในระบบบริการปฐมภูมิ ประกอบด้วย 1. เครือข่ายวิชาชีพแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว (FM) : Node รพศ.อุดรธานี 2. เครือข่ายพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป (NP) : วพบ.อุดรธานี 3. เครือข่ายนักกายภาพบำบัด : รพร.สว่างแดนดิน(ปี 2553) / รพ.ปากคาด(ปี2554) / สสจ.อุดรธานี (ปี 2556-2557) 4. เครือข่ายพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟู : รพ.วังสามหมอ 5. เครือข่ายแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู : รพ.หนองบัวลำภู 6. เครือข่ายสาธารณสุขอำเภอ : สสจ.บึงกาฬ จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาเครือข่ายวิชาชีพหลักในระบบบริการปฐมภูมิ จัดประชุมกำกับติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของ Nodeวิชาชีพหลักแต่ละด้าน อย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยรายไตรมาส จัดเวทีวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพของบุคลากรแต่ละวิชาชีพ เพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น Outcome 1. ร้อยละ 98.94 หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 2. ร้อยละ 94.65 ของครอบครัวมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจมาดูแลถึงบ้าน 3. สัดส่วนของประชาชนไปรับบริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิเมื่อเทียบกับโรงพยาบาลแม่ข่าย : 1.68 Supplier สปสช. / สปสช. เขต /อปสข. สธ. / สสจ. / รพ. / สสอ. / รพ.สต. สภาวิชาชีพ แพทย์ / พยาบาล / กายภาพบำบัด / แพทย์แผนไทย สถาบันทางวิชาการ มหาวิทยาลัย / วพบ. ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย Customer คทง.พัฒนาเครือข่ายวิชาชีพ สปสช. เขต / อปสข. สธ. /สสจ. /รพ. /สสอ. / รพ.สต. ประชาชน แผนการพัฒนา ปี 2557 : สนับสนุนและส่งเสริมยกระดับการพัฒนาผลงานนวัตกรรมเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ในระบบบริการปฐมภูมิสู่สากล
ตัวอย่าง SIPOC ที่ 2 : การพัฒนาเครือข่ายวิชาชีพหลักในระบบบริการปฐมภูมิ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต ออกแบบการจัดสรรสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขแบบบูรณาการ ให้เอื้อต่อการพัฒนาเครือข่ายวิชาหลักในระบบบริการ ปฐมภูมิ จัดทำแผนการพัฒนาเครือข่ายวิชาชีพหลักในระบบบริการปฐมภูมิ ระดับเขต Mapping พื้นที่ที่มีผลงานนวัตกรรมเด่นเฉพาะด้าน ประเมินผล และถอดบทเรียนการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิที่เอกลักษณะเฉพาะด้าน(วิชาชีพ) เชิดชูเกียรติ์บุคคล/หน่วยงาน เอกสารผลงานนวัตกรรมเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ในระบบบริการปฐมภูมิ ศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมเด่นในระบบบริการปฐมภูมิเฉพาะด้าน บุคคลและหน่วยบริการที่มีผลงานเด่นเป็นเอกลักษณ์ในระบบบริการปฐมภูมิ ยุทธศาสตร์ที่ 3 สปสช. : สร้างความเข้มแข็งของระบบบริการ สธ.โดยเฉพาะระบบบริการปฐมภูมิที่เหมาะสมในทุกมิติและสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขแบบบูรณาการ งบจ่ายตามเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ (On top payment) ประสานงานหน่วยงานภาคีเครือข่ายเพื่อทำหน้าที่เป็น Node พัฒนาเครือข่ายวิชาชีพหลักในระบบบริการปฐมภูมิ ประกอบด้วย 1. เครือข่ายวิชาชีพแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว (FM) : Node รพศ.อุดรธานี 2. เครือข่ายพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป (NP) : วพบ.อุดรธานี 3. เครือข่ายนักกายภาพบำบัด : รพร.สว่างแดนดิน(ปี 2553) / รพ.ปากคาด(ปี2554) / สสจ.อุดรธานี (ปี 2556-2557) 4. เครือข่ายพยาบาลเวชศาสตร์ฟื้นฟู : รพ.วังสามหมอ 5. เครือข่ายแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู : รพ.หนองบัวลำภู 6. เครือข่ายสาธารณสุขอำเภอ : สสจ.บึงกาฬ จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาเครือข่ายวิชาชีพหลักในระบบบริการปฐมภูมิ จัดประชุมกำกับติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของ Nodeวิชาชีพหลักแต่ละด้าน อย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยรายไตรมาส จัดเวทีวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพของบุคลากรแต่ละวิชาชีพ เพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์ 1. ร้อยละ 98.94 หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ศักยภาพบริการปฐมภูมิ 2. ร้อยละ 94.65 ของครอบครัวมีหมอใกล้บ้านใกล้ใจมาดูแลถึงบ้าน 3. สัดส่วนของประชาชนไปรับบริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิเมื่อเทียบกับโรงพยาบาลแม่ข่าย : 1.68 ผู้ผลิต/ผู้รับผิดชอบ สปสช. / สปสช. เขต /อปสข. สธ. / สสจ. / รพ. / สสอ. / รพ.สต. สภาวิชาชีพ แพทย์ / พยาบาล / กายภาพบำบัด / แพทย์แผนไทย สถาบันทางวิชาการ มหาวิทยาลัย / วพบ. ชมรมสาธารณสุขแห่งประเทศไทย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คทง.พัฒนาเครือข่ายวิชาชีพ สปสช. เขต / อปสข. สธ. /สสจ. /รพ. /สสอ. / รพ.สต. ประชาชน แผนการพัฒนา ปี 2557 : สนับสนุนและส่งเสริมยกระดับการพัฒนาผลงานนวัตกรรมเด่นที่เป็นเอกลักษณ์ในระบบบริการปฐมภูมิสู่สากล