People Excellence บุคลากรเป็นเลิศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

มาตรการ การบริหารและพัฒนากำลังคน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การพัฒนาหลักเกณฑ์การจ่าย Pay per performance : P4P
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
สกลนครโมเดล.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
Dream สถาบันส่งเสริม สุขภาพ บทบาท : ส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย Service model Training center Research development Reference center Database network Referral.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
หน่วยงานหลัก: สสจ./รพ./สสอ./รพสต. หน่วยงานร่วม:
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ภารกิจด้าน อำนวยการ…………… ….…..
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
จังหวัดสมุทรปราการ.
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

People Excellence บุคลากรเป็นเลิศ

ผลการตรวจราชการ ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการ บริหารจัดการ ระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตาม เกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด

การบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคน เขตสุขภาพมีกระบวนการในการ ดำเนินการเพื่อให้ได้บุคลากรด้าน สุขภาพทั้งปริมาณและศักยภาพที่ เพียงพอ มีขีดสมรรถนะอย่างมืออาชีพ และ ศักยภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานในทุกระดับสถานบริการ ประชาชนเข้าถึง บริการด้านสุขภาพได้อย่าง ครอบคลุมทั่วถึงทุกสิทธิ โดยมีองค์ประกอบดังนี้

การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนของ เขตสุขภาพ การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน ของเขตสุขภาพ หมายถึง กระบวนการวาง แผนพัฒนาบุคลากรทั้งจำนวนและ ศักยภาพ ภายใต้แผนความต้องการอัตรา กำลังคนด้านสุขภาพในระยะ 5 ปี ครอบคลุมทั้ง 5 กลุ่มสาขา/วิชาชีพ 38 สาย งาน

1.บุคลากรวิชาชีพ (Health professionals) บุคลากรวิชาชีพมี 7 สายงาน ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นัก เทคนิคการแพทย์ นักกายภาพบำบัด และ นักวิชาการสาธารณสุข

2.บุคลากรสหวิชาชีพ (Allied Health professionals) 2.1 บุคลากรซึ่งเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ 7 สายงาน ได้แก่ นักรังสีการแพทย์ นักกิจกรรมบำบัด นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา นักเวชศาสตร์การสื่อ ความหมาย นักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก นัก ฟิสิกส์รังสี และนักการแพทย์แผนไทย 2.2 บุคลากรอื่นมี 7 สายงาน ได้แก่ นักวิชาการทันต สาธารณสุข นักโภชนาการ นักวิทยาศาสตร์ การแพทย์ นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการศึกษา พิเศษ นักกายอุปกรณ์ และนักวิชาการอาหารและยา

3. บุคลากรสนับสนุนวิชาชีพ (Associates Health personal) บุคลากรสนับสนุนวิชาชีพ มี 7 สายงาน ประกอบด้วย เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข เจ้าพนักงานเภสัชกรรม เจ้าพนักงาน สาธารณสุข เจ้าพนักงานเวชสถิติ เจ้าพนักงานเวชกิจ ฉุกเฉิน เจ้าพนักงาน วิทยาศาสตร์การแพทย์ และเจ้าพนักงาน รังสีการแพทย์

4.บุคลากรสายสนับสนุน (Back office) บุคลากรสายสนับสนุน มี 10 สายงาน ประกอบด้วย นักวิชาการ/เจ้าพนักงาน การเงินและบัญชี นักทรัพยากรบุคคล นักจัดการงานทั่วไป นักวิชาการ/เจ้า พนักงานพัสดุ นิติกร นักสถิติ นักวิชาการ/เจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์ นักวิชาการ/เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และ เจ้าพนักงานธุรการ

5. บุคลากรผู้ทำหน้าที่บริหารงาน บุคลากรผู้ทำหน้าที่บริหารงาน ประกอบด้วย ระดับสูง ระดับกลาง ระดับต้น

การนิเทศ มี 5 องค์ประกอบ

1. การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ 1. การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ มีแผนความต้องการกำลังคน(จำนวน ที่สอดคล้องกับแผนกำลังคนของเขต) โดยมีความครอบคลุมกลุ่มสาขา/ วิชาชีพ 5 กลุ่มเป้าหมาย และ แผนพัฒนาบุคลากร ของเขตที่และ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ (4 Excellence ตามยุทธศาสตร์ 20 ปี)

2.การสร้างความร่วมมือด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน การสร้างความร่วมมือด้านการผลิตและ พัฒนากำลังคนหมายถึง กระบวนการสร้าง ความสัมพันธ์และการประสานงานระหว่าง หน่วยที่เกี่ยวข้อง (Stakeholder) เพื่อพัฒนา ความร่วมมือกับสถาบันการผลิตและพัฒนา กำลังคนในเขตสุขภาพ และใช้ประโยชน์ใน การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพบุคลากรที่มี ความเป็นมืออาชีพให้บริการแก่ประชาชนใน เขตสุขภาพ

3.การบริหารงบประมาณด้านการผลิตและ พัฒนากำลังคน การบริหารงบประมาณด้านการผลิตและ พัฒนากำลังคน หมายถึง กระบวนการ วางแผนการจัดสรร/การใช้/ติดตามการใช้ งบประมาณ ที่สนับสนุนความต้องการ กำลังคนทั้งด้านจำนวนและศักยภาพภาพที่ ตอบสนองยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ/กระทรวง/ ประเทศ โดยพิจารณาจากการกำหนดเป้า หมายความต้องการกำลังคนและพัฒนาคน ผลการพัฒนา และร้อยละการใช้งบประมาณ ได้ตามแผนที่กำหนด

4.การบริหารจัดการด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน การบริหารจัดการด้านการผลิตและ พัฒนากำลังคน หมายถึง กระบวนการใน การสรรหา จัดสรร กระจาย บุคลากร ทั้ง ด้านจำนวนและศักยภาพ โดยกำหนดจาก ความต้องการนำไปสู่การวางแผนการ ผลิตและพัฒนาที่สอดคล้องกัน รวมทั้ง การกำหนดเนื้อหาหลักสูตรด้านการผลิต และพัฒนาที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

5.การประเมินผลกระทบระบบการบริหารจัดการการผลิตและพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ การประเมินผลกระทบระบบการบริหาร จัดการการผลิตและพัฒนากำลังคนของเขต สุขภาพ หมายถึง กระบวนการติดตามและ วิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของ เขตสุขภาพด้านการวางแผนความต้องการ และพัฒนาบุคลากร/การสรรหา/การคัดสรร/ การจัดบริการ เป็นต้น โดยต้องประเมิน สถานการณ์ ความเสี่ยง ความคุ้มทุน และข้อ ขัดแย้ง/ความสมดุลทางวิชาชีพ จนเกิดผล เสียในภาพรวม

เกณฑ์เป้าหมายทั้ง 5 องค์ประกอบ มีระดับ 1-5 เกณฑ์เป้าหมายทั้ง 5 องค์ประกอบ มีระดับ 1-5

เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ องค์ประกอบ ระดับคะแนน เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ 1.การวางแผนการผลิตและพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ 5 แผนความต้องการ/พัฒนากำลังคน(ทั้งจำนวนและศักยภาพ) เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 4 Excellence และครอบคลุมทั้ง 5 กลุ่มสาขา / วิชาชีพ (ทุกสายงาน) ทุกระดับบริการ 4 แผนความต้อง / พัฒนากำลังคน เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 4 Excellence ครอบคลุมทั้ง 5 กลุ่มสาขา / วิชาชีพ (อาจไม่ครอบคลุมทุกสายงาน) ในทุกระดับบริการ 3 แผนความต้องการ / พัฒนากำลังคน เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 4 Excellence ครอบคลุมทั้ง 4 กลุ่มสาขา / วิชาชีพ (อาจไม่ครอบคลุมทุกสายงาน) ในทุกระดับบริการ 2 แผนความต้องการ / พัฒนากำลังคน เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 4 Excellence ครอบคลุมทั้ง 3 กลุ่มสาขา / วิชาชีพ (อาจไม่ครอบคลุมทุกสายงาน) ในทุกระดับบริการ 1 แผนความต้องการ / พัฒนากำลังคน เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ 4 Excellence ครอบคลุมทั้ง 2 กลุ่มสาขา / วิชาชีพ (อาจไม่ครอบคลุมทุกสายงาน) ในทุกระดับบริการ

เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ องค์ประกอบ ระดับคะแนน เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ 2.การสร้างความร่วมมือด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน 5 มีการสร้างความร่วมมือของสถาบันการผลิตและพัฒนากำลังคนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ของเขตสุขภาพครอบคลุมร้อยละ 100 4 มีการสร้างความร่วมมือของสถาบันการผลิตและพัฒนากำลังคนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ของเขตสุขภาพครอบคลุมร้อยละ 80 3 มีการสร้างความร่วมมือของสถาบันการผลิตและพัฒนากำลังคนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ของเขตสุขภาพครอบคลุมร้อยละ 60 2 มีการสร้างความร่วมมือของสถาบันการผลิตและพัฒนากำลังคนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ของเขตสุขภาพครอบคลุมร้อยละ 40 1 มีการสร้างความร่วมมือของสถาบันการผลิตและพัฒนากำลังคนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ของเขตสุขภาพครอบคลุมร้อยละ 20

เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ องค์ประกอบ ระดับคะแนน เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ 3.การบริหารงบประมาณด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน 5 การเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละ 100 4 การเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละ 90 3 การเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละ 80 2 การเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละ 70 1 การเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละ 60

เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ องค์ประกอบ ระดับคะแนน เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ 4. การบริหารจัดการด้านการผลิตและพัฒนากำลังคน 5 บุคลากรได้รับการพัฒนาความต้องการของเขตสุขภาพ ร้อยละ 100 ของเป้าหมาย 4 บุคลากรได้รับการพัฒนาความต้องการของเขตสุขภาพ ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย 3 บุคลากรได้รับการพัฒนาความต้องการของเขตสุขภาพ ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย 2 บุคลากรได้รับการพัฒนาความต้องการของเขตสุขภาพ ร้อยละ 40 ของเป้าหมาย 1 บุคลากรได้รับการพัฒนาความต้องการของเขตสุขภาพ ร้อยละ 20 ของเป้าหมาย

เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ องค์ประกอบ ระดับคะแนน เกณฑ์การดำเนินงานในแต่ละระดับ 5.การประเมินผลกระทบระบบการบริหารจัดการการผลิตและพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ 5 ไม่มีปัญหาเรื่องการจัดการการพัฒนากำลังคนของเขต หรือมีน้อยกว่า / เท่ากับร้อยละ 10 ของภาพรวมกระทรวง (จำนวนข้อร้องเรียน / จำนวนการขาดแคลนบุคลากร / อัตราการย้าย ลาออกลดลง ในระดับเขต) 4 มีปัญหาเรื่องการจัดการการพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ น้อยกว่า / เท่ากับ ร้อยละ 15 ของภาพรวมกระทรวง (จำนวนข้อร้องเรียน / จำนวนการขาดแคลนบุคลากร / อัตราการย้าย ลาออกลดลง ในระดับเขต) 3 มีปัญหาเรื่องการจัดการการพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ น้อยกว่า / เท่ากับ ร้อยละ 20 ของภาพรวมกระทรวง (จำนวนข้อร้องเรียน / จำนวนการขาดแคลนบุคลากร / อัตราการย้าย ลาออกลดลง ในระดับเขต) 2 มีปัญหาเรื่องการจัดการการพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ น้อยกว่า / เท่ากับ ร้อยละ 25 ของภาพรวมกระทรวง (จำนวนข้อร้องเรียน / จำนวนการขาดแคลนบุคลากร / อัตราการย้าย ลาออกลดลง ในระดับเขต) 1 มีปัญหาเรื่องการจัดการการพัฒนากำลังคนของเขตสุขภาพ น้อยกว่า / เท่ากับ ร้อยละ 30 ของภาพรวมกระทรวง (จำนวนข้อร้องเรียน / จำนวนการขาดแคลนบุคลากร / อัตราการย้าย ลาออกลดลง ในระดับเขต)

ผลการนิเทศ

ระดับความสำเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการ ระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเป้าหมายที่กำหนด จังหวัด

จุดแข็ง มีคณะอนุกรรมการบริหารทรัพยากร บุคคล (Chief Human Resource Officer : CHRO) ที่ทำงานเกี่ยวกับ การกำหนดนโยบายด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคลของเขตสุขภาพที่ 12 มีคณะทำงานบริหารกำลังคน (HRM) มีคณะทำงานพัฒนากำลังคน (HRD)

จุดอ่อน ขาดการเชื่อมโยงการพัฒนา กำลังกำลังคน อย่างเป็นระบบ และพัฒนาฐานข้อมูลการ พัฒนากำลังคนที่เป็นปัจจุบัน

ข้อเสนอแนะ ระดับจังหวัด ควรเร่งรัดการจัดสรร และเบิกจ่าย งบประมาณในการพัฒนาบุคลากรให้ ทันเวลา ในแต่ละจังหวัดควรบูรณาการแผนผลิต และพัฒนากำลังคนเข้าด้วยกันเพื่อให้เห็น ภาพรวม

ข้อเสนอแนะ ระดับเขต ควรมีการเชื่อมโยงระหว่างการวางแผน service plan/service base กับความ ต้องการกำลังคน แผนพัฒนากำลังคนแต่ละ สาขาในระยะ 5 ปี และประสานความ ร่วมมือการผลิตกับสถาบันการศึกษาใน ระยะยาว ควรมีการพัฒนาโปรแกรมการจัดระบบ ข้อมูลพัฒนาบุคลากร โดยแต่ละ หน่วยงานมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและ พัฒนาให้เป็นรูปแบบเดียวกัน เพื่อให้ข้อมูล เป็นปัจจุบัน ควรมีการเชิญสถาบันการศึกษาที่มี หลากหลายมาร่วมกันวางแผนเพื่อหาแนว ทางการพัฒนากำลังคนให้มากขึ้น

ขอบคุณค่ะ