ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน ส่งเสริมให้หมู่บ้านใช้แผนชุมชนเป็นเครื่องมือเสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชนในการแก้ไขปัญหาของชุมชนด้วยตนเอง บนพื้นฐานของข้อมูล การคิด การตัดสินใจ และลงมือกระทำของคนในชุมชน
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน แนวคิด การทำให้ชุมชนเข้มแข็ง ไม่สามารถทำได้โดย การสร้างจากบุคคลภายนอกชุมชน หรือโดยการสอน การฝึกอบรม ชุมชนเข้มแข็งจะมีกระบวนการในการจัดการ ของชุมชนมีการเรียนรู้ร่วมกัน มีกิจกรรมเพิ่มคุณ ค่าทุนทางสังคม และเศรษฐกิจของคนในชุมชน “สร้างพลังชุมชน และใช้พลังชุมชนในการ พัฒนาชุมชน”
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน การประเมินคุณภาพแผนชุมชน 6 ตัวชี้วัด 1. มีข้อมูลที่ครัวเรือนทำและใช้ในการวิเคราะห์ ร้อยละ 70 2. มีแผนชุมชนเป็นลายลักษณ์อักษร (รูปเล่ม) 3. ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน ร้อยละ 70 4. มีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำแผนตั้งแต่ต้น 5. มีกระบวนการจัดทำแผนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. มีกิจกรรมพึ่งตนเอง อย่างน้อยร้อยละ 30 และมีการปฏิบัติได้จริง ร้อยละ 30 ของกิจกรรมพึ่งตนเอง
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน การรับรองมาตรฐานแผนชุมชน 5 ตัวชี้วัด การรับรองมาตรฐานแผนชุมชน 5 ตัวชี้วัด 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. กระบวนการมีส่วนร่วม 3. กระบวนการเรียนรู้ 4. การทำแผนชุมชนไปใช้ประโยชน์ 5. โครงสร้างของแผนชุมชน (รูปเล่ม)
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน เป้าหมาย ปี 2553 1. หมู่บ้าน/ชุมชน ทบทวนและปรับปรุงแผนชุมชนโดยคณะกรรมการ หมู่บ้าน/ชุมชน 2. การบูรณาการแผนชุมชนระดับอำเภอ มีกิจกรรมจากแผนชุมชน หมู่บ้าน บรรจุในแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. มีการประเมินมาตรฐานแผนชุมชนทุกหมู่บ้าน / ชุมชน 4. กิจกรรมตามแผนชุมชน สามารถดำเนินการได้จริงโดยชุมชน อย่างน้อยร้อยละ 30
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน กิจกรรม ปี 2553 1. การสร้างและพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้กระบวนการแผนชุมชน (ระดับอำเภอ) 2. การส่งเสริมและรับรองมาตรฐานแผนชุมชน (ระดับตำบล/อำเภอ/ จังหวัด) 3. การบูรณาการแผนชุมชนระดับจังหวัด
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน เครือข่ายการเรียนรู้กระบวนการแผนชุมชน วัตถุประสงค์ : เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้นำชุมชนและทีมสนับสนุนกระบวนการแผนชุมชน ในการทบทวน และปรับปรุงกระบวนการแผนชุมชนของหมู่บ้าน / ตำบล / อำเภอ ให้มีประสิทธิภาพ สามารถส่งเสริมให้หมู่บ้านนำไปใช้ในการจัดทำและพัฒนาคุณภาพแผนชุมชนให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้น สู่การรับรองมาตรฐาน
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน เครือข่ายการเรียนรู้กระบวนการแผนชุมชน กลุ่มเป้าหมาย : อำเภอคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายจัดประชุมกลไกการส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชนของอำเภอ 1. ทีมสนับสนุนกระบวนการแผนชุมชนและอำเภอ หรือเครือข่ายองค์กรชุมชนของอำเภอ 20 คน 2. ตัวแทนหมู่บ้าน / ชุมชน 35 คน
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน เครือข่ายการเรียนรู้กระบวนการแผนชุมชน วิธีการ / ขั้นตอน: 1) อำเภอจัดเวทีประชาคมอำเภอจากบุคคลเป้าหมาย 2 ครั้ง *ทบทวนและประเมินการส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชนของอำเภอ *กำหนดแนวทางการปรับปรุงกระบวนการส่งเสริมการจัดทำแผนชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ *การเสนอแผนชุมชนของหมู่บ้าน/ชุมชนให้จังหวัดรับรองมาตรฐาน *จัดทำแผนเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการแผนชุมชนของอำเภอ
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน เครือข่ายการเรียนรู้กระบวนการแผนชุมชน วิธีการ / ขั้นตอน: 2) กลไกส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชนของอำเภอ ดำเนินการปรับปรุงกระบวนการส่งเสริมการจัดทำแผนชุมชนของอำเภอ *การทบทวนแผนชุมชนระดับหมู่บ้านของคณะกรรมการหมู่บ้าน *การบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล ร่วมกับแผน อปท. *การคัดเลือกแผนชุมชน ส่งให้จังหวัดรับรองมาตรฐาน
การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน เครือข่ายการเรียนรู้กระบวนการแผนชุมชน วิธีการ / ขั้นตอน: 3) การติดตามประเมินผลและสรุปบทเรียน *อำเภอ /จังหวัด ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานของหมู่บ้าน/ตำบล *อำเภอ/จังหวัด ประเมินผล และสรุปบทเรียน (ถอดองค์ความรู้)
โครงสร้างการบริหารจัดการ คณะกรรมการหมู่บ้าน คณะทำงานด้านอำนวย อำนวยการประชุม ระเบียบวาระ จัดการประชุม - งานธุรการ การเงิน เลขานุการ อื่น ๆ คณะทำงานด้านการ ปกครอง และรักษา ความสงบเรียบร้อย -ส่งเสริมประชาธิปไตย -ระเบียบข้อบังคับของหมู่บ้าน -การสร้างความเป็นธรรม -การประนีประนอม -การสร้างความสามัคคี/ สมานฉันท์ คณะทำงานด้าน แผนพัฒนาหมู่บ้าน -ดำเนินการบูรณาการ จัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน -ดำเนินกิจกรรมพัฒนา ของหมู่บ้าน -ปรับแผนพัฒนา หมู่บ้านร่วมกับภาคี -จัดทำข้อมูลของหมู่บ้าน คณะทำงานด้าน ส่งเสริมเศรษฐกิจ -ส่งเสริมการประกอบ อาชีพ การผลิต การตลาด -เศรษฐกิจพอเพียง -กองทุนชุมชน -วิสาหกิจชุมชน -ร้านค้าชุมชน คณะทำงานด้านสังคม สิ่งแวดล้อมและ สาธารณสุข -การพัฒนาเด็ก เยาวชน สตรีและผู้ด้อยโอกาส -การสงเคราะห์ -การป้องกันสาธารณภัย -กองทุนสวัสดิการสังคม -การอนุรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะทำงานด้าน การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม -ส่งเสริมการศึกษา -ส่งเสริมการศาสนา -การบำรุงรักษาศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรม -ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น -แหล่งเรียนรู้/ศูนย์เรียน รู้ชุมชน
สวัสดี