การกำจัดน้ำเสียจากการขยายตัวของชุมชนเมืองด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ กรณีศึกษาเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น Wastewater management from urban growth using Geo-information Technology A case study at Amphoe Mueang, Khonkaen Province Project Advisor Asist. Prof. Dr. Nagon Watthakit 573021198-9 Naticha Prompradid 573021207-4 Fuangfa Chueasakon 573021221-0 Sarat Rabalert Group 1
หลักการและเหตุผล การเติบโตของเมืองชุมทางในปัจจุบันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางบวก เชิงพื้นที่ จึงเป็นที่สนใจว่าการเปลี่ยนแปลงที่ก่อให้เกิดความทันสมัยมีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร จึงได้อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่นมาเป็นกรณีศึกษาใน สิ่งแวดล้อมทางด้านแหล่งน้ำในชุมชน ว่ามีการเกิดผลเสียอย่างไร เช่น การเกิด น้ำเน่าเสีย หรือมลพิษทางน้ำ ซึ่งอาจกระทบกับสิ่งแวดล้อมด้านอื่นๆ และผู้คนที่ อาศัยอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น นับเป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองมากแห่งหนึ่ง ในภาคอีสาน การวิจัยนี้จึงได้ทำการวิเคราะห์การขยายตัวของ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยประยุกต์ใช้ข้อมูลการรับรู้ระยะไกลจากภาพถ่ายดาวเทียม 2 ภาพ 2 ปี เปรียบเทียบความสัมพันธ์กับข้อมูลการเพิ่มขึ้นของประชากร ก่อให้เกิดผลเสียกับทรัพยาการน้ำบริเวณบึงแก่นนครอันเนื่องมาจากการปล่อยน้ำ ทิ้งในพื้นที่เพื่อการวางแผนการจัดการน้ำเสีย โดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ศาสตร์วิเคราะห์ร่วมกับปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ เพื่อหาพื้นที่เหมาะสมในการตั้งบ่อ บำบัดน้ำเสีย แบบบ่อปรับเสถียรในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
วัตถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อวางแผนการจัดการผลเสียซึ่งมีผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำบริเวณเทศบาล ตำบลศิลา ขอบเขตและข้อจำกัดของการวิจัย ขอบเขตของงานวิจัย พื้นที่ศึกษาได้ทำการเลือกศึกษาเฉพาะเขตพื้นที่ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย ข้อจำกัดของงานวิจัย ใช้ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม THEOS 2 ภาพ 2 ปี ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
วิธีดำเนินการวิจัย 1.3 การวิเคราะห์ขนาดบ่อปรับเสถียร จะใช้ ค่าพารามิเตอร์ในการออกแบบบ่อปรับเสถียรและการ ออกแบบระบบบำบัดน้ำ 1.4 นำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ขนาดบ่อปรับเสถียร การคำนวณปริมาณการใช้น้ำเสียโดยอ้างอิงจาก หนังสือ”ค่ากำหนดการออกแบบระบบน้ำเสีย” 1. ปริมาณการใช้น้ำเสีย 2. อัตราภาระบีโอดี 3. ความลึกของบ่อ 1.5 การวิเคราะห์หาพื้นที่เหมาะสมสำหรับสร้างบ่อ บำบัดน้ำเสีย โดยมีการจำแนกข้อมูลเพื่อหาพื้นที่ที่ เหมาะสมมีปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย 7 ปัจจัย คือ การซึมซาบน้ำของดิน ประเภทเนื้อดิน น้ำใต้ดินและความลาดชัน เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ และปัจจัยที่เป็นข้อจำกัดเราจะกำหนดเป็นพื้นที่กันออก ประกอบด้วย ชุมชน แหล่งน้ำ ถนน วิธีการการวิเคราะห์ 1.1 วิเคราะห์การขยายตัวของสิ่งปลูก สร้าง นำข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมทำการแปล ตีความด้วยวิธี classify ในโปรแกรม ERDAS IMAGINE โดยใช้เทคนิค Supervised แบบ Maximum Likelihood กำหนดประเภทการใช้ ที่ดินเป็น 3 ประเภท คือ พื้นที่ปลูกสร้าง พื้นที่ แหล่งน้ำ และพื้นที่อื่นๆ จากนั้นนำผลที่ได้จาก การแปลตีความภาพถ่ายทั้งสองปีมาเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงในโปรแกรม ArcGIS และ คำนวณการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ของสิ่งปลูกสร้าง 1.2 การวางแผนการจัดการน้ำเสียด้วยระบบบ่อปรับเสถียร
ข้อมูลในการทำโครงการวิจัย ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ArcGIS 10.1 โปรแกรม PCI โปรแกรม Microsoft Office โปรแกรม ERDAS IMAGINE ตารางแสดงการรวบรวม ข้อมูล ลำดับที่ รายการข้อมูล หน่วยงานที่ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูล 1 ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมTHEOS สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) 2 ข้อมูลประชากรในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เทศบาลนครขอนแก่น 3 ข้อมูลขอบเขตการปกครอง ศูนย์ภูมิสารสนเทศศาสตร์เพื่อการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 5 ข้อมูลแหล่งน้ำ แปลตีความจากภาพถ่าย THEOS 6 ข้อมูลสิ่งปลูกสร้างอาคารในอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 7 ข้อมูลถนน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สามารถวางแผนเพื่อจัดการผลเสียที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น สามารถวางแผนการสร้างบ่อปรับเสถียรและระบบบำบัดน้ำเสียให้แก่ชุมชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น END THANK YOU _/|\_