วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน ได้รับ ประโยชน์ 1.3 ทราบศักยภาพน้ำบาดาลทั่ว ประเทศ ทั้งปริมาณ คุณภาพ และ ปริมาณน้ำปลอดภัย และสามารถ พัฒนาขึ้นมาใช้ได้โดยไม่เกิด ผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม 1.1 มีน้ำบาดาลใช้ใน การอุปโภค บริโภค อุตสาหกรรม เกษตรกรรม อย่าง เพียงพอทั่วถึง และเป็น ธรรม 1.2 มีระบบบริหารจัดการทรัพยากร น้ำบาดาลครบทุกแอ่งน้ำบาดาล 2.1 แผนมาตรการและแนว ทางการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรน้ำ บาดาลทันต่อสถานการณ์ 3.1 องค์กรและบุคลากรทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ ต่อยุทธศาสตร์และภารกิจ ด้วยหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี (GG) 2.4 ปรับปรุงกฎหมาย น้ำบาดาลให้มีความ เหมาะสมและเป็นธรรม คุณภาพ ประชาชนที่มีความ ต้องการและมี ความพึงพอใจ 1.4 มีความพึงพอใจ มาตรการทางด้านน้ำ บาดาลและข้อมูลน้ำ บาดาล 2.2 ประชาสัมพั นธ์เชิงรุก 1.5 รายงาน สถานการณ์และ สภาพน้ำบาดาล 2.3 พัฒนามาตรฐาน ขั้นตอนและ วิธีการปฏิบัติงานใน การศึกษาวิจัย ประสิทธิผ ล กระบวนการ ทำงานขององค์กร 1.6 เพิ่มประสิทธิภาพการประเมินศักยภาพ น้ำบาดาลและปริมาณความต้องการใช้น้ำบาดาล 1.7 พัฒนา ปรับปรุงข้อมูล และแผนที่น้ำ บาดาลให้ ถูกต้องและ ทันสมัย 1.8 พัฒนาเทคโนโลยีและเพิ่ม ประสิทธิภาพ ในการใช้น้ำบาดาล 2.5 พัฒนาระบบบอนุ รักษ์และเฝ้าระวัง แหล่งน้ำบาดาลเชิง ปริมาณและคุณภาพ 2.6 พัฒนาระบบฟื้นฟูและแก้ไขปัญหา มลพิษน้ำบาดาลที่ทันต่อเหตุการณ์ ( งานฟื้นฟูทรัพยากรน้ำบาดาล ) 2.7 พัฒนางาน ศึกษาวิจัยเพื่อ ประยุกต์ใช้กับการ บริหารจัดการ 3.3 เพิ่มขีดสมรรถนะองค์กรและ บุคลากรเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลง และสนองยุทธศาสตร์ 3.2 พัฒนาระบบ การถ่ายทอดและ ยกระดับองค์ ความรู้ให้แก่ บุคลากรอย่าง ต่อเนื่อง 3.4 มีระบบสารสนเทศที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ พัฒนา องค์กร เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลแบบบูรณาการ ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อเป็นฐานการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน 1. บริหารจัดการทรัพยากรน้ำบาดาลแบบบูรณาการ 2. กำกับดูแล อนุรักษ์และฟื้นฟู แหล่งน้ำบาดาล ให้ประชาชนสามารถใช้ได้อย่าง ยั่งยืน 3. พัฒนาองค์กร ระบบ บริหารงานบุคคล งบประมาณ การเงิน และการคลังให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลง 1. ระบบบริหารจัดการน้ำบาดาล เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำ ขาดแคลนน้ำท่วม และคุณภาพ น้ำ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและเอกชน 2. ทรัพยากรน้ำบาดาลอยู่ใน สภาพที่สมดุล มีคุณภาพที่ เหมาะสม มีการใช้อย่าง คุ้มค่าและยั่งยืนโดยไม่ส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3. องค์กรมีโครงสร้างที่ เหมาะสมในการบริหารงาน และ ระบบบริหารแผนงาน งบประมาณ การเงินการคลัง อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมวัฒนธรรม มุ่งสู่หลักธรรมาภิบาล พัฒนาระบบการจัด การความรู้และการเรียนรู้ แผนที่ยุทธศาสตร์กรม ทรัพยากรน้ำบาดาล (2551) 2.8 จัดตั้งเครือข่าย บริหารจัดการ น้ำบาดาลอย่าง บูรณาการ
ความเสี่ยง กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ เช่น (1) นโยบายด้านการพัฒนาสมรรถนะองค์กร และการพัฒนา บุคลากรไม่ต่อเนื่องและไม่สอดคล้องกับการเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้และธรรมาภิบาล (2) กฎหมายข้อบังคับและระเบียบเป็นปัจจัยทำให้ขาดความ คล่องตัว เกิดความล่าช้า ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล เช่น (1) การปฏิบัติต่อผู้รับบริการอย่างไม่เป็นธรรมและเสมอภาค (2) การปฏิบัติงานล่าช้ากว่ากำหนด ความเสี่ยงด้าน ICT เช่น การรักษาความปลอดภัยของ ข้อมูลและเครือข่าย ความเสี่ยงด้านกระบวนการ เช่น เกิดอุบัติเหตุและ อุบัติภัยระหว่างการปฏิบัติงาน